แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: 3 เหตุผล “รื้อ” ที่มาองค์กรอิสระ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: 3 เหตุผล “รื้อ” ที่มาองค์กรอิสระ

องค์กรอิสระ คือ หนึ่งกลไกในการสืบทอดอำนาจ คสช. อย่างแท้จริง ที่มาขององค์กรอิสระต่างๆ ล้วนเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งมาจากกลไกของ คสช. แทบทั้งสิ้น ทำให้หล้กการตั้งต้นตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ที่คาดหวังว่าองค์กรอิสระเหล่านี้จะทำหน้าที่ตรวจสอบการรัฐบาลสูญสิ้นไป กลายเป็นเครื่องมือรักษาอำนาจของเผด็จการเท่านั้น  
รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”
อ่าน

รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา พิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ "รื้อระบอบประยุทธ์" หนึ่งในข้อเสนอ คือ การใช้ "สภาเดี่ยว" ยกเลิกส.ว. เป็นวันที่สมาชิกวุฒิสภาอภิปรายน่าสนใจหลายคน ยังมีทั้งที่คัดค้านชัดเจน และคัดค้านแบบ "อ้อมๆ"​
แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: เปิดสามเหตุผล “ยกเลิก ส.ว.-เดินหน้า สภาเดี่ยว”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: เปิดสามเหตุผล “ยกเลิก ส.ว.-เดินหน้า สภาเดี่ยว”

16-17 พฤศจิกายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดพิจารณาและลงมติร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "รื้อระบอบประยุทธ์" ที่นำโดยกลุ่ม Resolution โดยร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีสาระสำคัญ คือ การยกเลิกวุฒิสภาแล้วกลับไปใช้ระบบ "สภาเดี่ยว" หรือ ให้เหลือแต่สภาผู้แทนราษฎรทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ
แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: วิธีแก้ปัญหา “ตุลาการภิวัฒน์” ตามฉบับ Resolution
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: วิธีแก้ปัญหา “ตุลาการภิวัฒน์” ตามฉบับ Resolution

ที่ผ่านมา ภาคประชาชนมีความพยายามจะจัดการกับปัญหาตุลาการภิวัฒน์และการแทรงแซงความเป็นอิสระของศาลรัฐธรรมนูญด้วยการเสนอร่างรัฐธรรมนูญให้ "เซ็ตซีโร่องค์กรอิสระ" หรือทำการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่แบบยกชุดไปแล้วหนึ่งครั้ง แต่ผลคือร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวถูกตีตกไป จนกระทั่ง มีการเข้าชื่อเพื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญใหม่อีกครั้ง ที่เรียกกันว่า "ร่างรื้อระบอบประยุทธ์" ที่นำโดยกลุุ่ม Resolution ที่มาพร้อมกับข้อเสนอในการจัดการกับสิ่งที่เรียกว่า "ตุลาการภิวัฒน์"