อ่าน ชุมนุมสาธารณะ เสรีภาพการแสดงออก คลื่นการชุมนุม 63 ในสายตาของสามผู้มีมลทินมัวหมองธันวาคม 18, 2020 เพนกวิน-แรปเตอร์-เอเลียร์ สามผู้มีมลทินมัวหมองที่ถูกดำเนินคดีจากการชุมนุมในปี 2563 มาร่วมกันถอดบทเรียนถึงชนวนเหตุของการชุมนุมและทิศทางการชุมนุมในอนาคต 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา “รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”พฤศจิกายน 29, 2020 เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน 0 0 0
อ่าน รัฐธรรมนูญและรัฐสภา สรุปเนื้อหารัฐธรรมนูญ ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สวัสดิการที่ยังไม่ชัดเจน และเปิดช่องว่างกว่าฉบับก่อนๆตุลาคม 23, 2020 รัฐธรรมนูญไทยในอดีตเคยวางร่องรอยของการจัดสวัสดิการไว้และยึดมั่นในหลักการบางประการมาอย่างต่อเนื่อง ทว่ารัฐธรรมนูญ 2560 ได้ปรับเปลี่ยนถ้อยคำเล็กๆ น้อยๆ ที่เคยมีอยู่ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ คล้ายวางกับดักเป็นช่องว่างให้รัฐมีภาระการดูแลสวัสดิการประชาชนลดถอยลง 0 0 0
อ่าน กฎหมายประชาชน ติดตามกฎหมาย “บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?กรกฎาคม 21, 2020 ก่อนหน้าที่จะมีการระบาดของโควิด 19 เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการได้พยายามผลักดันร่างกฎหมาย "พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ" ซึ่งหลักใหญ่ใจความก็คือ การให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินบำนาญอย่างเสมอภาคกัน โดยวางกรอบวงเงินไว้ที่ 3,000 บาทต่อเดือน หลังภาคประชาชนรวบรวมรายชื่อไม่น้อยกว่า 10,000 คน เพื่อเสนอกฎหมายฉบับดังกล่าวสู่สภา กฎหมายกลับยังติดขัดอยู่ที่ตัวนายกรัฐมนตรี 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ คุณภาพชีวิต นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ – สามัญชนผู้ใฝ่ฝันถึงรัฐสวัสดิการ เพื่อลบล้างมรดกความจนให้หายไปกรกฎาคม 2, 2020 ในภาวะวิกฤติจากสถานการณ์โควิดที่ทุกกลุ่มอาชีพได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า แต่การช่วยเหลือจากภาครัฐกลับไม่สามารถเข้าถึงผู้เดือดร้อนได้ครอบคลุมทั้งหมด เสียงเพรียกหาสวัสดิการถ้วนหน้าจึงยิ่งดังขึ้น และ นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ จากเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม หรือ wefair คืออีกหนึ่งฟันเฟืองสำคัญที่มุ่งขับเคลื่อนผลักดันแนวคิดรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นในสังคมไทย 0 0 0
อ่าน นักโทษการเมือง มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก “สมยศ พฤกษาเกษมสุข” กับชีวิตหนึ่งหลังขอบรั้วเรือนจำมิถุนายน 16, 2020 สมยศ พฤกษาเกษมสุข … 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”พฤษภาคม 2, 2020 นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60เมษายน 22, 2020 ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม 0 0 0
อ่าน กิจกรรมชวนทำ Elysium: หนังสะท้อนความเหลื่อมล้ำในการรักษาพยาบาลและชีวิตผู้อพยพในสังคมอเมริกาเมษายน 15, 2020 iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน 0 0 0
อ่าน กฎหมายประชาชน คุณภาพชีวิต ติดตามกฎหมาย ร่าง พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ (ฉบับประชาชน): ผู้สูงอายุทุกคนต้องได้รับบำนาญถ้วนหน้ากันยายน 28, 2019 ภาคประชาชนในนามเครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ ผลักดันร่างกฎหมาย “พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ” เพื่อยกระดับบำนาญให้ประชาชนทุกคนเมื่ออายุถึง 60 ปี 0 0 0