รัฐธรรมนูญ 2560 ออกฤทธิ์ตัดสิทธิเบี้ยคนชราถ้วนหน้า?
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ออกฤทธิ์ตัดสิทธิเบี้ยคนชราถ้วนหน้า?

รัฐบาลรักษาการของพลเอกประยุทธ์ ได้สร้างผลงานปรับเปลี่ยนเกณฑ์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จนนำมาสู่ข้อวิพากษ์วิจารณ์ เปลี่ยนจากระบบสวัสดิการถ้วนหน้าเป็นระบบพิสูจน์ความจน ขณะที่ภาครัฐก็ชี้แจงว่า หลักเกณฑ์ใหม่จะทำให้การแจกเบี้ยผู้สูงอายุทั่วถึงและเป็นธรรมมากขึ้น
เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%
อ่าน

เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ เปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อ ครม. ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น
2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ
อ่าน

2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ

ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
ก้าวไกล-เพื่อไทย-ประชาชาติ ลง MOU พร้อมผลักร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ก้าวไกล-เพื่อไทย-ประชาชาติ ลง MOU พร้อมผลักร่างรัฐธรรมนูญใหม่

8 กรกฎาคม 2566 เครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (Constitution Advocacy Alliance) จัดกิจกรรม “Con Next: ออกจากกะลาไปหารัฐธรรมนูญใหม่” มีการเชิญตัวแทนจากพรรคการเมืองเข้าร่วมแสดงความเห็นต่อบทบาทของรัฐสภาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และปิดท้ายด้วยการทำบันทึกข้อตกลงร่วมต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน
2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”
อ่าน

2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”

หนทางสู่การมีรัฐธรรมนูญจากประชาชนต้องผ่านประชามติอย่างน้อย 2 ครั้ง ผ่านคูหาเลือกสว.​ และการเลือกตั้งส.ส.ร. ที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประเทศนี้ ซึ่งประเมินได้ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 ปี ถ้าไม่มีเหตุขัดขวางระหว่างทาง
ถอดบทปาฐกถาว่าด้วยสถานะของ “รัฐธรรมนูญ” ในมุมประวัติศาสตร์กฎหมายและรัฐศาสตร์
อ่าน

ถอดบทปาฐกถาว่าด้วยสถานะของ “รัฐธรรมนูญ” ในมุมประวัติศาสตร์กฎหมายและรัฐศาสตร์

10 ธันวาคม 2565 สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดกิจกรรมเสวนา Pridi Talks หัวข้อ “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ และ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน ร่วมแชร์มุมมองต่อสถานะของรัฐธรรมนูญตามที่เป็นอยู่ในประเทศไทย
แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา

ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 ถึงเดือนธันวาคม 2565 รัฐสภาร่วมกันระหว่าง ส.ส. และ ส.ว. ต้องอภิปรายลงมติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งหมด ห้ายก รวมทั้งหมด 26 ข้อเสนอ รวมสถิติที่น่าสนใจในศึกการแก้รัฐธรรมนูญที่ผ่านมา
เลือกตั้ง 66: ย้อนประวัติศาสตร์ เปิดสามกลโกง ส่ง ”พรรคอันดับสอง” ขึ้นเป็นรัฐบาล
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ย้อนประวัติศาสตร์ เปิดสามกลโกง ส่ง ”พรรคอันดับสอง” ขึ้นเป็นรัฐบาล

ถ้าย้อนดูการเมืองไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีหลายยุคหลายสมัยที่พรรคการเมืองซึ่งมีจำนวน ส.ส. มากเป็นอันดับสอง สามารถจัดตั้งรัฐบาลแทนพรรคที่มีจำนวน ส.ส. มากที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้ เนื่องจากมีกลไกในการสืบทอดอำนาจอยู่ 
เสียงแตกคดีแรก! ย้อนดูการลงมติศาลรธน. 4 คดีของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

เสียงแตกคดีแรก! ย้อนดูการลงมติศาลรธน. 4 คดีของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

30 กันยายน 2565 ศาลรัฐธรรมนูญ 6:3 เสียง เคาะการดำรงตำแหน่งนายกฯ ของพล.อ.ประยุทธ์ ต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่รัฐธรรมนูญ 2560 ใช้บังคับ พล.อ.ประยุทธ์ จึงยังดำรงตำแหน่งนายกฯ ไม่ครบแปดปี อย่างไรก็ดี นี่เป็นคดีแรกที่เกี่ยวข้องกับพล.อ.ประยุทธ์ ที่ศาลรัฐธรรมนูญ "เสียงแตก" ไม่ลงมติเอกฉันท์
3 เรื่องศาลรัฐธรรมนูญ เลี่ยงตอบ กรณี 8 ปีประยุทธ์
อ่าน

3 เรื่องศาลรัฐธรรมนูญ เลี่ยงตอบ กรณี 8 ปีประยุทธ์

กรณีศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยคดี 8 ปีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ยังมีอีกหลายประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้กล่าวถึงเลย ทั้งที่เป็นประเด็นสำคัญที่จะกำหนดชะตาวาระการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอดีตหัวหน้าคณะรัฐประหารเช่นเดียวกัน