ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?
คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?
อ่าน

คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่างไร ?
สิทธิหน้าที่ของ “พลเมือง” ในร่างรัฐธรรมนูญ 2558
อ่าน

สิทธิหน้าที่ของ “พลเมือง” ในร่างรัฐธรรมนูญ 2558

ร่างรัฐธรรมนูญ 2558 หมวดที่ 2 ประชาชน กำหนดความเป็นพลเมืองและหน้าที่พลเมือง สิทธิการมีส่วนร่วมทางการเมือง และการตรวจสอบการใช้อำนาจ พร้อมแบ่งแยก "สิทธิมนุษยชน" กับ "สิทธิพลเมือง" ออกจากกัน ทำให้คนที่ไม่มีสัญชาติไทยจะไม่ได้รับสิทธิบางประการ  
มองร่างรัฐธรรมนูญไทยผ่านเยอรมัน
อ่าน

มองร่างรัฐธรรมนูญไทยผ่านเยอรมัน

รัฐธรรมนูญของเยอรมันใช้มากว่า 60 ปี ในตอนแรกมีความตั้งใจว่าจะใช้เป็นฉบับชั่วคราว และถูกออกแบบมาโดยระมัดระวังไม่ให้เป็นฉบับถาวร คือประชาชนมีสิทธิยกเลิกได้อย่างเสรี แต่เนื่องจากฟังก์ชั่นต่างๆ ในรัฐธรรมนูญใช้ได้ดีจึงยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน  
รัฐธรรมนูญ’58 ‘สร้างการเมืองที่ดี ด้วยสมัชชาคุณธรรม’
อ่าน

รัฐธรรมนูญ’58 ‘สร้างการเมืองที่ดี ด้วยสมัชชาคุณธรรม’

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เผยแนวคิดเกี่ยวการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ผ่าน บทความ "ระบอบการเมือง นักการเมือง และสถาบันการเมือง" จากนี้อนาคตของนักการเมืองและสถาบันการเมืองต่างๆ จะถูกดูแลให้อยูในร่องในรอยโดยกลุ่มคนดี ที่เรียกว่า "สมัชชาคุณธรรม"
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ: แม่น้ำสายที่ห้าสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ: แม่น้ำสายที่ห้าสู่รัฐธรรมนูญใหม่

กมธ.ยกร่างรธน.คือองค์กรสุดท้ายของรธน.ชั่วคราว 2557 หน้าที่สำคัญคือการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อนำไปสู่การเลือกตั้ง โดยกรอบระยะเวลาการทำงานพวกเขามีระยะเวลาประมาณ 1 ปี หลังจากนี้ ด้วยเหตุนี้ที่มา คุณสมบัติ ของพวกเขาเป็นอย่างไร และขั้นตอนการร่างรัฐธรรมนูญจากนี้จะเป็นอย่างไร?  
“ลอก-ขุด-ใหม่” ในรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557
อ่าน

“ลอก-ขุด-ใหม่” ในรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557

รัฐธรรมนูญชั่วคราวปี 2557 เป็น รธน.หลังรัฐประหารฉบับที่ 8 ใช้เวลา 2 เดือนในการร่าง ส่วนใหญ่คงเป็นการคัดลอก รธน.ชั่วคราวเก่า ขณะที่เนื้อหาใหม่ก็ล้าหลัง
การถอดถอนองค์กรอิสระ โดยช่องทางประชาชน
อ่าน

การถอดถอนองค์กรอิสระ โดยช่องทางประชาชน

เมื่อองค์กอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีบทบาทในการเมืองมากขึ้น ก็ต้องถูกตั้งคำถามมากขึ้นและถูกตรวจสอบมากขึ้น ประชาชน 20,000 คนเข้าชื่อกันสามารถยื่นให้วุฒิสภาตรวจสอบ และถอดถอนกรรมการองค์กรต่างๆ ได้ ขั้นตอนง่ายๆ ไม่ซับซ้อน และที่ผ่านมาก็ยื่นกันแล้วกว่า 11 ครั้ง
ศาลรัฐธรรมนูญ+ผู้ตรวจการแผ่นดิน vs การเลือกตั้ง’57
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญ+ผู้ตรวจการแผ่นดิน vs การเลือกตั้ง’57

ขบวนการ “ตุลาการภิวัฒน์” ขององค์กรอิสระยังเดินเกมส์อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดการที่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ นำมาซึ่งข้อสงสัย ว่าการตัดสินครั้งนี้ตั้งอยู่บนฐานความถูกต้องทางกฎหมายหรือความเชื่อทางการเมือง iLaw ขอทำหน้าที่พลเมืองดีของระบอบประชาธิปไตย เป็นส่วนหนึ่งที่จะตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจต่างๆ อย่างศาลรัฐธรรมนูญและผู้ตรวจการแผ่นดิน
นักวิชาการ ถก “รัฐไม่ควรข่มขู่เสรีภาพทางวิชาการ”
อ่าน

นักวิชาการ ถก “รัฐไม่ควรข่มขู่เสรีภาพทางวิชาการ”

หลัง กทค. ยื่นฟ้อง ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และณัฏฐา โกมลวาทิน ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์ว่าเป็นการข่มขู่และละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในประเด็นสาธารณะ นักวิชาการกลุ่มหนึ่งร่วมกันจัดงานเสวนาเพื่อทวงหาเสรีภาพในทางวิชาการต่อการกระทำของ กทค.