10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย
อ่าน

10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย

กลไกใหม่ๆ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 เช่น กฎหมายพรรคการเมือง การนับที่นั่งส.ส. กลไกลนายกฯคนนอก ฯลฯ หากถูกนำมาใช้ประกอบกันในเงื่อนไขและจังหวะเวลาที่ถูกต้อง อาจทำให้ คสช. สามารถควบคุมผลการเลือกตั้งครั้งหน้าได้ และทำให้การเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นไม่มีความหมาย
มองคดีจำนำข้าวให้ยาวถึงนโยบายหาเสียงครั้งหน้า
อ่าน

มองคดีจำนำข้าวให้ยาวถึงนโยบายหาเสียงครั้งหน้า

แม้คำพิพากษาคดีจำนำข้าวจะยังไม่สะท้อนภาพการแทรกแซงการดำเนินนโยบายของรัฐบาลโดยองค์กรตุลาการอย่างเด่นชัด แต่ก็น่าตั้งข้อสังเกตว่า คดีดังกล่าวจะกลายเป็นบรรทัดฐานสำหรับลงโทษรัฐบาลที่ดำเนินนโยบายที่ถูกกล่าวหาว่าใช้นโยบาย 'ประชานิยม' หรือไม่ โดยเฉพาะในยุคที่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้อำนาจองค์กรอิสระในการจับตารัฐบาลชุดหน้าอย่างเข้มข้น
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์
อ่าน

สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์

นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม
ร่าง รธน. ‘มีชัย’: เพิ่มมาตรการพิเศษ ถ้าผ่านแล้วแก้ไขแทบไม่ได้
อ่าน

ร่าง รธน. ‘มีชัย’: เพิ่มมาตรการพิเศษ ถ้าผ่านแล้วแก้ไขแทบไม่ได้

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัยเขียนให้แก้ไขยากมาก จะแก้ไขได้ ส.ว. 1 ใน 3 ต้องลงมติเห็นชอบ และต้องมี ส.ส.ทุกพรรคลงมติเห็นชอบด้วย ในประเด็นหลักการใหญ่ รวมทั้งเรื่องคุณสมบัติไม่เคยทุจริตของนักการเมือง การแก้ไขต้องผ่านประชามติก่อน สุดท้ายยังอาจถูกร้องให้ศาลรัฐธรรมนูญคว่ำได้อีกชั้นหนึ่ง
สมบัติ บุญงามอนงค์: คสช.จะอยู่ยาก ถ้าประชามติไม่ผ่าน
อ่าน

สมบัติ บุญงามอนงค์: คสช.จะอยู่ยาก ถ้าประชามติไม่ผ่าน

เราพูดคุยกับ  สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ 'บก.ลายจุด' เพื่อให้เขาช่วยมองการทำงานของเว็บไซต์ประชามติ (prachamati.org) และสะท้อนภาพรวมของสังคมไทยปัจจุบัน นอกจากนี้เรายังชวนคุยถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่กำลังจะเกิดขึ้นกลางปีนี้ ว่าจะเอายังไงดี? 
จอน อึ๊งภากรณ์: เว็บประชามติเป็น “เวทีแสดงความเห็นในสังคมที่ถูกปิดกั้น”
อ่าน

จอน อึ๊งภากรณ์: เว็บประชามติเป็น “เวทีแสดงความเห็นในสังคมที่ถูกปิดกั้น”

“จอน อึ๊งภากรณ์” ผู้ผลักดันเว็บไซต์ประชามติได้ย้อนทบทวนการทำงานของเว็บไซต์ประชามติที่ผ่านมาว่ามีส่วนสร้างการมีส่วนร่วมในสังคมได้แค่ไหน และมองไปข้างหน้าว่าในปี 2559 นี้ที่รัฐบาลบอกว่าจะมีการทำประชามติจริงนั้น ทิศทางของเว็บประชามติจะเป็นอย่างไร
‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน
อ่าน

‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน

มีชัย ฤชุพันธ์ุ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ คนล่าสุด ผู้มีประสบการณ์โชกโชนในวงการเมืองและกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรอบ 20 ปัหลังเมื่อเกิดรัฐประหารเขาจะเป็นคนแรกที่ทหารคิดถึง ชวนทำความรู้จักมีชัย และความคิดบ้างส่วนของเขา