13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่

รัฐธรรมนูญ 2560 ไม่ได้มีปัญหาเพียงแค่ “ที่มา” จากคณะรัฐประหารของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัญหาในเชิง “เนื้อหา” ด้วยไม่แตกต่างกัน ถือเป็นโอกาสอันดีและควรเป็นภารกิจหลักของรัฐบาลภายใต้การนำของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ในการกำจัด “ผลไม้พิษ” อย่างรัฐธรรมนูญ 2560 และยุติปัญหาที่กระทบประชาชนทั้งประเทศโดยไม่ประวิงเวลาออกไปมากกว่านี้
6 เดือนรัฐบาลเศรษฐา รัฐธรรมนูญใหม่ยังไม่ได้เริ่มก้าวแรก
อ่าน

6 เดือนรัฐบาลเศรษฐา รัฐธรรมนูญใหม่ยังไม่ได้เริ่มก้าวแรก

นโยบาย “จัดทำรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” โดยสสร. เลือกตั้ง เป็นหนึ่งในนโยบายหลักของพรรคเพื่อไทยในช่วงจัดตั้งรัฐบาล นับถึงเดือนมีนาคม 2567 ก็เข้าเดือนที่หกแล้ว แต่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ยังไม่ได้เริ่มแม้แต่ขั้นตอนแรก
เลือกสว. 2567 : รู้จักผู้ควบคุมการเลือก สว.
อ่าน

เลือกสว. 2567 : รู้จักผู้ควบคุมการเลือก สว.

กระบวนการได้ สว. จะมาจากการเลือกกันเองของผู้สมัคร แต่ก็มีกรรมการในการคอยดูแลและควบคุมการเลือก สว. ด้วยเช่นกัน โดยใน พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้ซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 และระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการเลือกสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 ได้กำหนดที่มาและบทบาทของผู้ดูแลการเลือก สว. ไว้ดัง
พัฒนาการของความเป็นกฎหมายสูงสุดและประเพณีการปกครองในรัฐธรรมนูญ
อ่าน

พัฒนาการของความเป็นกฎหมายสูงสุดและประเพณีการปกครองในรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญตั้งแต่ฉบับแรกจนถึงฉบับปี 2560 รวม 20 ฉบับ ค้นพบว่า มีหลายมาตราที่เปลี่ยนแปลงมาตลอด โดยมาตราที่จะกล่าวถึงคือมาตรา 5 ของรัฐธรรมนูญ 2560 ซึ่งเป็นมาตราที่คนซึ่งติดตามการเมืองได้ไม่นานอาจจะยังไม่ทราบความสำคัญมากนัก แต่ในประวัติศาสตร์การเมืองมีการพูดถึงมาตราดังกล่าวเพื่อแก้ไขวิกฤติความขัดแย้งทางการเมืองอยู่หลายครั้ง
นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%
อ่าน

นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%

การเลือกตั้ง สสร. โดยประชาชนทั้งหมด และบทบาทของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญไม่ใช่เรื่องที่ขัดแย้งกัน แต่หากยึดว่าอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญเป็นของประชาชน การออกแบบระบบเพื่อหาที่ทางให้กับคนเหล่านี้ก็ยังมีความเป็นไปได้
สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
รัฐธรรมนูญเขียนชัด องคมนตรีตั้งตามพระราชอัธยาศัย ต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
อ่าน

รัฐธรรมนูญเขียนชัด องคมนตรีตั้งตามพระราชอัธยาศัย ต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 รัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นองคมนตรี โดยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งไม่ปรากฏว่ามีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ทั้งๆ ที่ในรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 11 กำหนดผู้ลงนามรับสนองฯ ไว้อย่างชัดเจน
องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์เป็นองคมนตรี ทำให้ชื่อของพลเอกประยุทธ์กลับมาเป็นที่กล่าวถึงอีกครั้งในบทบาทใหม่ที่ทำงานใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์มากยิ่งขึ้น
ย้อนเหตุการณ์ สส. ถูกขับออกจากพรรค
อ่าน

ย้อนเหตุการณ์ สส. ถูกขับออกจากพรรค

พรรคก้าวไกลมีมติขับ ปดิพัทธ์ สันติภาดา สส. จังหวัดพิษณุโลก และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ออกจากพรรค ตามกติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 การขับ สส. ออกจากพรรคการเมืองนี้ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นครั้งแรก แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหกครั้ง โดยมีเหตุผลทางการเมืองต่างกัน      
“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60
อ่าน

“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60

“มาตรฐานทางจริยธรรม” เป็นเครื่องมือในการสืบทอดอำนาจอีกชิ้นหนึ่งของ คสช. ที่เอาไว้ควบคุมนักการเมือง แม้โดยกฎหมายจะบังคับใช้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระด้วยก็ตาม แต่อำนาจในการออกมาตรฐานทางจริยธรรม การดำเนินคดี และการลงโทษล้วนอยู่ในมือของศาลและองค์กรอิสระทั้งสิ้น นับจนถึงคดีล่าสุดของ พรรณิการ์ วานิช อดีต สส. พรรคอนาคตใหม่ มีนักการเมืองถูกตัดสินว่าผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแล้วจำนวนสี่คน