ผู้ตรวจการแผ่นดินวินิจฉัยแล้ว!  ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไม่ละเมิดสิทธิ
อ่าน

ผู้ตรวจการแผ่นดินวินิจฉัยแล้ว! ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไม่ละเมิดสิทธิ

26 พฤษภาคม 2563 ตัวแทนเครือข่ายประชาชน 5 ภูมิภาค ได้ยื่นคำร้องต่อผู้ตรวจการแผ่นดินเพื่อขอให้เสนอต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีให้ยกเลิกและไม่ต่ออายุการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รวมถึงขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็นการกระทำที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ  
ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.

หากพิจารณาจาก “รัฐธรรมนูญ ปี 2560” ซึ่งถูกร่างขึ้นโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผู้ทำการรัฐประหารในปี 2557 ก็จะพบว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญต้องการให้ “วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง” เป็นหลักประกันทางอำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องการจะดำรงอยู่หลังการเลือกตั้ง ดังนั้น จึงต้องให้อำนาจ ส.ว. ไว้เป็นพิเศษ
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “สิระ เจนจาคะ” ไม่สิ้นสภาพ ส.ส. กรณีปะทะตำรวจ ขณะลงพื้นที่ภูเก็ต
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “สิระ เจนจาคะ” ไม่สิ้นสภาพ ส.ส. กรณีปะทะตำรวจ ขณะลงพื้นที่ภูเก็ต

1 กรกฎาคม 2563 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ สิระ เจนจาคะ ไม่พ้นจากตำแหน่ง ส.ส. จากกรณีปะทะตำรวจขณะลงพื้นที่ภูเก็ต โดยศาลเห็นว่าการกระทำเป็นไปเพื่อให้เจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด แต่หากใครเห็นว่าพฤติการณ์ของสิระไม่สุภาพให้ไปว่ากันตามข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของ ส.ส. 
ต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ต่อลมหายใจรัฐบาล
อ่าน

ต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ต่อลมหายใจรัฐบาล

จากการติดตามการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ของรัฐบาลมาเป็นเวลากว่าสามเดือน พบว่า รัฐบาลมี 'ผลพลอยได้' จากการใช้อำนาจพิเศษโดยอ้างโรคระบาดครั้งนี้ อย่างน้อย 3 ประการ ได้แก่ การรวบอำนาจให้นายกรัฐมนตรี ใช้ปราบม็อบคนที่ต่อต้านหรือไม่พอใจรัฐบาล และอย่างสุดท้ายคือ ยกเว้นความรับผิดของเจ้าหน้าที่
‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.
อ่าน

‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.

ปิติพงษ์ เต็มเจริญ อดีตโฆษกพรรคเสรีรวมไทย ยื่นหนังสือต่อประธาน กกต. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน และประธานรัฐสภา เพื่อให้สามองค์กรส่งเรื่องต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยความเป็นสมาชิกภาพของอดีต สนช.ที่ขณะนี้ดำรงตำแหน่ง ส.ว.และกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ขาดคุณสมบัติตามกฎหมายและให้สิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่
ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.
อ่าน

ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.

24 มิถุนายน 2563 เวลา 10.30 น. ภาคประชาชนนำโดยกลุ่ม ครช. ได้จัดกิจกรรม “ทวงคืนมรดกคณะราษฎร ทวงคืนสัญญารัฐธรรมนูญประชาชน” ณ บริเวณหน้าอาคารรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการแก้รัฐธรรมนูญต่อ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ
88 ปีอภิวัฒน์สยาม: หลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่ยังเหลือสู่ฉบับปัจจุบัน
อ่าน

88 ปีอภิวัฒน์สยาม: หลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่ยังเหลือสู่ฉบับปัจจุบัน

เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญฉบับแรกแล้ว แม้จะถูกบังคับใช้เพียงระยะเวลาสั้นๆ แต่ก็เต็มไปด้วยหลักคิดที่นำเสนอกลไกรับรองอำนาจของประชาชนที่น่าพิจารณาเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อให้เห็นระบอบการเมืองในฝันเมื่อวันนั้นที่ยังพอหลงเหลือหรือถูกทำลายไปแล้วในวันนี้
จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว