7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ

ทบทวนบทบาทของ สนช. ที่แก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายหลายครั้งอย่างลับๆ เกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ เมื่อถึงยุคของ ส.ว. ก็ยังตั้งกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ รวมทั้งขวางการ #แก้รัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์ และอีก 38 มาตรา
7 ปี แห่งความถดถอย : ประยุทธ์ปัดตกร่างกฎหมายถ่วงความก้าวหน้าและคุณภาพชีวิตประชาชน
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : ประยุทธ์ปัดตกร่างกฎหมายถ่วงความก้าวหน้าและคุณภาพชีวิตประชาชน

หลังพล.อ.ประยุทธ์ เข้าดำรงตำแหน่งนายกฯ สมัยที่สอง ได้ใช้อำนาจในการไม่ให้คำรับรองกฎหมาย หรือ อำนาจในการปัดตกกฎหมาย ไปอย่างน้อย 21 ฉบับ และพบว่าในจำนวนดังกล่าวเป็น ร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตประชาชน อย่างน้อย 11 ฉบับ และที่เกี่ยวกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อย่างน้อย 4 ฉบับ
ลุ้น! ธรรมนัสพ้นตำแหน่ง รมช./ส.ส. เหตุต้องคำพิพากษาคดีค้ายาเสพติดที่ออสเตรเลีย
อ่าน

ลุ้น! ธรรมนัสพ้นตำแหน่ง รมช./ส.ส. เหตุต้องคำพิพากษาคดีค้ายาเสพติดที่ออสเตรเลีย

5 พฤษภาคม 2564 เวลา 15.00 น. เป็นต้นไป ศาลรัฐธรรมนูญนัดอ่านคำวินิจฉัยในประเด็นคุณสมบัติการเป็นส.ส. และรัฐมนตรีของร้อยเอก ธรรมนัส พรมเผ่า เหตุต้องคำพิพากษาถึงที่สุดของศาลต่างประเทศในคดีค้ายาเสพติด หากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าขาดคุณสมบัติ จะส่งผลต่อการสิ้นสุดการเป็นรัฐมนตรีและส.ส. ของร้อยเอก ธรรมนัส พรมเผ่า
สรุปร่าง “รื้อระบอบประยุทธ์” ยกเลิก ส.ว. รื้อองค์กรอิสระ เพิ่มอำนาจฝ่ายค้าน
อ่าน

สรุปร่าง “รื้อระบอบประยุทธ์” ยกเลิก ส.ว. รื้อองค์กรอิสระ เพิ่มอำนาจฝ่ายค้าน

ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญรื้อระบอบประยุทธ์ ของกลุ่ม Re-solution เสนอให้ยกเลิกวุฒิสภา เปลี่ยนมาใช้เป็นระบบ สภาเดี่ยว กำหนดให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็น ส.ส. รื้อที่มาองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งหมด รวมทั้งออกแบบกลไกใหม่ที่หวังจะป้องกันไม่ให้การรัฐประหารเกิดขึ้นได้อีก
เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”
อ่าน

เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”

5 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ เสรีภาพทางวิชาการ ในสภาวะเสื่อมถอย
เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

การพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง ส.ว.บางรายได้ทิ้งประเด็นเกี่ยวพระราชอำนาจ 38 มาตรา นอกเหนือหมวด 2 ไว้ ซึ่งกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญของ ส.ว. ใช้เป็นข้ออ้างในการคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม โดยทั้ง 38 มาตรานั้น ล้วนมี keyword ที่ปรากฏในบทบัญญัติ คือ คำว่า พระมหากษัตริย์
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
ส.ว. แต่งตั้ง: การแทรกแซงสถาบันตุลาการของ คสช. ผ่าน ส.ว. ชุดพิเศษ
อ่าน

ส.ว. แต่งตั้ง: การแทรกแซงสถาบันตุลาการของ คสช. ผ่าน ส.ว. ชุดพิเศษ

รัฐธรรมนูญ 2560 เปลี่ยนที่มาของ ส.ว. ให้มาจากกระบวนการคัดเลือกของ คสช. ด้วยเหตุนี้ คสช. จึงกลายเป็นคนที่เข้ามาแทนที่ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่างๆ กับประชาชน