ศาลระบุปิดเว็บ NO 112 ชอบแล้ว การยอมให้วิจารณ์สถาบันฯเป็นการเซาะกร่อน-บ่อนทำลาย
อ่าน

ศาลระบุปิดเว็บ NO 112 ชอบแล้ว การยอมให้วิจารณ์สถาบันฯเป็นการเซาะกร่อน-บ่อนทำลาย

หลักการที่ยอมให้ประชาชนสามารถวิพากษ์วิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์ในฐานะสถาบันทางการเมืองได้นั้นจะนำไปสู่การ “เซาะกร่อน บ่อนทำลาย” ทำให้ไม่อยู่ในสถานะเคารพสักการะอีกต่อไป ก่อให้เกิดความแตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม จึงถือว่า www.no112.org มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
เช็กผลงาน สว. 67 เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ-ข้าราชการระดับสูงไปกี่ตำแหน่ง
อ่าน

เช็กผลงาน สว. 67 เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ-ข้าราชการระดับสูงไปกี่ตำแหน่ง

ตลอดอายุห้าปีของ สว. 2567 จะให้ความเห็นชอบผู้มาดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและกรรมการองค์กรอิสระได้ “เกินครึ่ง” รวมทั้งให้ความเห็นชอบข้าราชการระดับสูงบางตำแหน่ง
ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง

การที่รัฐสภาส่งเรื่องไปถามศาลรัฐธรรมนูญครั้งที่สามในประเด็นประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ทั้งๆ ที่รัฐธรรมนูญและคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 เขียนชัดเจนแล้ว หากพิจารณาตามข้อกฎหมาย อาจได้รับคำตอบจากศาลว่า “ไม่รับคำร้อง”
ทำความรู้จัก ธณัชญ์พงศ์ วงศ์มุลาลี สว. คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟัน สมชาย เล่งหลัก พ้นตำแหน่ง
อ่าน

ทำความรู้จัก ธณัชญ์พงศ์ วงศ์มุลาลี สว. คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟัน สมชาย เล่งหลัก พ้นตำแหน่ง

26 มีนาคม 2568 ศาลรัฐธรรมนูวินิจฉัยให้สมชาย เล่งหลัก สว. สิ้นสมาชิกภาพ โดยธณัชญ์พงศ์ วงศ์มุลาลี จะได้เลื่อนขึ้นมาเป็น สว. ต่อไป
ถอดทุกคำ แพทองธารตอบคำถามเรื่องการครอบงำ ผู้ลี้ภัยอุยกูร์และสิทธิเสรีภาพ
อ่าน

ถอดทุกคำ แพทองธารตอบคำถามเรื่องการครอบงำ ผู้ลี้ภัยอุยกูร์และสิทธิเสรีภาพ

นายกรัฐมนตรีแถลงครั้งสุดท้ายในญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจในประเด็นเรื่องการครอบงำทางการเมือง การบังคับส่งผู้ลี้ภัยอุยกูร์และเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านผู้นำฝ่ายค้านมองนายกรัฐมนตรีตอบไม่ตรงคำถามและยังไม่เห็นถึงความชัดเจนของการแก้ไขปัญหาต่างๆ
ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”
อ่าน

ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”

ผลการลงมติส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงแทบไม่แตกโหวตเห็นด้วย เสียงไม่เห็นด้วย มาจากพรรคประชาชนและพรรคเป็นธรรม และ สว. ส่วนน้อยอีก 12 เสียง ด้าน สว. ข้างมากในวุฒิสภา เลือกโหวต “งดออกเสียง”
ภาคประชาสังคมแถลงรัฐสภายุโรปสถานการณ์มาตรา 112 และสิทธิมนุษยชนไทย 
อ่าน

ภาคประชาสังคมแถลงรัฐสภายุโรปสถานการณ์มาตรา 112 และสิทธิมนุษยชนไทย 

ตัวแทนภาคประชาสังคมไทยให้ข้อมูลสถานการณ์สิทธิมนุษยชนต่อคณะอนุกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนของรัฐสภายุโรป เรียกร้องให้นำเรื่องสิทธิมนุษยชนไปพิจารณาระหว่างการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี
รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

จากเสียงแตกพ่ายหลากหลายความคิดของสมาชิกรัฐสภา ชวนดูเสียงจากสส.พรรคเพื่อไทย พรรคแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล ว่าทำไมต้องส่งเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ครั้งที่สาม
อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม
อ่าน

อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม

17 มีนาคม 2568 รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ของรัฐสภาเป็นครั้งที่สาม ว่ารัฐสภามีอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ โดยที่ยังไม่ได้มีการทำประชามติได้หรือหม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญอาจไม่รับคำร้องเหมือนที่เคยไม่รับในปี 2567
รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่
อ่าน

รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่

17 มีนาคม 2568 ที่ประชุมรัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่และการประชามติ “ก่อน” เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำในขั้นตอนใด