ถอดทุกคำ แพทองธารตอบคำถามเรื่องการครอบงำ ผู้ลี้ภัยอุยกูร์และสิทธิเสรีภาพ
อ่าน

ถอดทุกคำ แพทองธารตอบคำถามเรื่องการครอบงำ ผู้ลี้ภัยอุยกูร์และสิทธิเสรีภาพ

นายกรัฐมนตรีแถลงครั้งสุดท้ายในญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจในประเด็นเรื่องการครอบงำทางการเมือง การบังคับส่งผู้ลี้ภัยอุยกูร์และเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านผู้นำฝ่ายค้านมองนายกรัฐมนตรีตอบไม่ตรงคำถามและยังไม่เห็นถึงความชัดเจนของการแก้ไขปัญหาต่างๆ
สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม
อ่าน

สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม

ที่ประชุมร่วมของรัฐสภามีมติส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความรายละเอียดจำนวนครั้งและขั้นตอนการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งที่ผ่านมามีการยื่นคำร้องในทำนองนี้แล้วสามครั้งสะท้อนให้เห็นถึงการใช้กระบวนการทางกฎหมายเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการ “ถ่วงเวลา” กระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
ถอดบทเรียน “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ฝ่าวิกฤตด้วย สสร.เลือกตั้งจากต่างประเทศ
อ่าน

ถอดบทเรียน “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ฝ่าวิกฤตด้วย สสร.เลือกตั้งจากต่างประเทศ

ชิลี ไอซ์แลนด์ และแอฟริกาใต้ เป็นตัวอย่างของประเทศที่ใช้รัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือนำพาประเทศออกจากความขัดแย้ง สองประเทศแรกเริ่มต้นจากการชุมนุมครั้งใหญ่ที่มีชนวนเหตุจากความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ จนนำสู่ข้อเรียกร้องการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
เปิดชื่อ สว. สส. อยากถ่วงเวลาแก้รัฐธรรมนูญ เสนอญัตติด่วนถามศาลอีกรอบว่ามีอำนาจจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ไหม
อ่าน

เปิดชื่อ สว. สส. อยากถ่วงเวลาแก้รัฐธรรมนูญ เสนอญัตติด่วนถามศาลอีกรอบว่ามีอำนาจจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ไหม

ที่ประชุมรัฐสภานัดพิจารณาวาระสำคัญโดยพิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญสองฉบับที่เสนอโดยสส. พรรคประชาชน และพรรคเพื่อไทย ที่มีสาระสำคัญคือการตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญจากการเลือกตั้งมาจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ แต่สว. และสส. อยากถ่วงเวลาแก้รัฐธรรมนูญเสนอญัตติด่วนถามศาลอีกรอบ
จดหมายเปิดผนึกถึงเจ้าของ 211,904 รายชื่อ Conforall
อ่าน

จดหมายเปิดผนึกถึงเจ้าของ 211,904 รายชื่อ Conforall

รัฐธรรมนูญใหม่ยังมาได้ ครม.แพทองธาร ชินวัตร ต้องเร่งกระบวนการได้โดยเสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับของคณะรัฐมนตรี และรีบตั้งสสร. โดยทันที
ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป
อ่าน

ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป

นับตั้งแต่ช่วงวิกฤติการเมืองในปี 2549 จนถึงวิกฤติรัฐธรรมนูญในปี 2567 เป็นเวลาเกือบสองทศวรรษที่ประเทศไทยต้องเผชิญหน้ากับระบบ “ตุลาการภิวัฒน์” หรือ การที่สถาบันตุลาการขยายอำนาจเข้ามามีบทบาททางการเมืองผ่านการตัดสินคดีความ และการที่ฝ่ายการเมืองที่สนับสนุนอำนาจรัฐประหารก็จงใจหยิบยืมมือของสถาบันตุลาการมาใช้โดยการส่งคดีที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองให้ “ศาล” ใช้อำนาจชี้ขาด
เศรษฐาแถลง ประชามติ 3 ครั้งสู่รัฐธรรมนูญใหม่ “ห้ามแตะหมวดทั่วไป-หมวดพระมหากษัตริย์” ย้ำพร้อมแก้ พ.ร.บ.ประชามติ
อ่าน

เศรษฐาแถลง ประชามติ 3 ครั้งสู่รัฐธรรมนูญใหม่ “ห้ามแตะหมวดทั่วไป-หมวดพระมหากษัตริย์” ย้ำพร้อมแก้ พ.ร.บ.ประชามติ

23 เมษายน 2567 เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ระบุว่ารัฐบาลมีความเห็นสอดคล้องกับข้อสรุปของคณะกรรมการประชามติ ที่เห็นว่าควรมีการทำประชามติสู่รัฐธรรมนูญใหม่ทั้งสิ้นสามครั้ง ไม่แตะหมวดทั่วไปและหมวดพระมหากษัตริย์ และเน้นย้ำว่าควรมีการแก้ไข พ.ร.บ. ประชามติ ควบคู่กันไปด้วย
ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน
อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

17 เมษายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเไม่รับคำร้องที่รัฐสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปัญหาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่า รัฐสภาจะมีอำนาจในการพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน
6 เดือนรัฐบาลเศรษฐา รัฐธรรมนูญใหม่ยังไม่ได้เริ่มก้าวแรก
อ่าน

6 เดือนรัฐบาลเศรษฐา รัฐธรรมนูญใหม่ยังไม่ได้เริ่มก้าวแรก

นโยบาย “จัดทำรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” โดยสสร. เลือกตั้ง เป็นหนึ่งในนโยบายหลักของพรรคเพื่อไทยในช่วงจัดตั้งรัฐบาล นับถึงเดือนมีนาคม 2567 ก็เข้าเดือนที่หกแล้ว แต่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ยังไม่ได้เริ่มแม้แต่ขั้นตอนแรก
เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ
อ่าน

เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ

ไอลอว์ได้ไปจัดกิจกรรมโพลคำถามประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในสถานที่ต่าง ๆ ว่าหากถามคำถามแบบหนึ่งประชาชนจะเห็นอย่างไร และถ้าคำถามเปลี่ยน คำตอบจะเปลี่ยนด้วยหรือไม่ เพราะคำถามประชามติในแต่ละแบบให้ผลในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ต่างกัน