แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล

ในศึกการแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง ทั้งพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านต่างมีจุดร่วมสำคัญอยู่ที่การแก้ไขเรื่อง “ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรเลือกตั้งสองใบเช่นเดียวกับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 แต่จุดต่างที่สำคัญ ซึ่งพรรคพลังประชารัฐเป็นกลุ่มเดียวที่ไม่ยอมเสนอ คือ การ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” หรือยกเลิกที่มาและอำนาจของวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล หรือ ยกเลิก ส.ว. ที่มาจากการคัดเลือกของ คสช.
แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ

สาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญ ฉบับ กมธ. คือ การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ มาจากการเลือกตั้งจำนวน 200 คน โดยใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
แก้รัฐธรรมนูญ : สสร. สูตรเลือกตั้ง100%-ใช้ระบบ “รวมเขตเบอร์เดียว”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ : สสร. สูตรเลือกตั้ง100%-ใช้ระบบ “รวมเขตเบอร์เดียว”

จากการแถลงของโฆษกคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2564 ระบุว่า กมธ.เสียงข้างมาก เห็นควรให้ สสร. มีจำนวน 200 คน และให้มาจากการเลือกตั้ง โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้งแบบ "1 คน 1 เสียง" และได้มอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาดำเนินการยกร่างบทบัญญัติให้มีความเชื่อมโยงให้ถูกต้องกับตามมติของที่ประชุม
ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”
อ่าน

ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”

รศ.ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มองว่า ข้อเสนอเกี่ยวกับ สสร. ของทั้งพรรคฝ่ายค้านและรัฐบาลยังไม่เพียงพอต่อการสะท้อนกลุ่มก้อนทางสังคมเพราะใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รวมถึงการแก้รัฐธรรมนูญจำเป็นต้องพิจารณาควบคู่กับสถานการณ์ทางการเมือง ซึ่งจากข้อเสนอเพื่อปิตสวิตช์ ส.ว. อาจต้องพิจารณาเรื่องการแก้ระบบเลือกตั้งควบคู่ไปด้วย
เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด

ข้อเสนอวิธีการตั้ง สสร. ของภาคประชาชนที่เปิดให้เข้าชื่อ 50,000 คน เสนอที่มาจากการเลือกตั้ง 100% ไม่มีโควต้าพิเศษสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ต้องแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นจังหวัด ใครอยู่ที่ไหนก็เลือกผู้สมัครได้ทุกคน
6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ
อ่าน

6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ

22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการสถาปนาอำนาจ “ระบอบ คสช.” ที่พยายามเปลี่ยนผ่านอำนาจแบบเผด็จการเต็มใบไปสู่ระบอบเผด็จการซ่อนรูป ในวาระครบรอบ 6 ปี เราขอทบทวนโครงสร้างอำนาจที่ คสช. ถูกออกแบบไว้ให้คณะรัฐประหารสามารถอยู่กับสังคมไทยได้ไปอีกหลายปี
เลือกตั้ง 5 ครั้งใช้ 4 ระบบ เปรียบเทียบระบบเลือกตั้ง 2540 ถึงปัจจุบัน
อ่าน

เลือกตั้ง 5 ครั้งใช้ 4 ระบบ เปรียบเทียบระบบเลือกตั้ง 2540 ถึงปัจจุบัน

ในระยะเวลา 20 ปี นอกจากจะมีรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแล้ว ยังมีระบบเลือกตั้งถึง 4 แบบ จัดการเลือกตั้งที่นับผลจริงได้ 5 ครั้ง โดยเป็นพรรคการเมืองเดิมที่กวาดที่นั่ง ส.ส. ไปมากที่สุดทั้ง 5 รอบ ชวนดูเปรียบเทียบระบบเลือกตั้งทั้ง 4 แบบ และข้อดีข้อเสีย ก่อนจะต้องออกแบบกันใหม่อีกไม่รู้กี่รอบ
‘พรรคแตก’ จากการออกแบบระบบเลือกตั้ง เสี้ยม ส.ส.เขต-ปาร์ตี้ลิสต์
อ่าน

‘พรรคแตก’ จากการออกแบบระบบเลือกตั้ง เสี้ยม ส.ส.เขต-ปาร์ตี้ลิสต์

ระบบเลือกตั้งออกแบบให้ ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ กับ ส.ส.เขต ในพรรคเดียวกันขัดแย้งกันเองได้ง่าย พรรคใดได้ ส.ส.เขต มาก จะได้ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อน้อยลง
รัฐธรรมนูญ 60 ดีไซน์ให้รัฐบาลอ่อนแอ “คสช. 2” ติดกับสภาเสียงปริ่มน้ำผ่านงบปี 63
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 60 ดีไซน์ให้รัฐบาลอ่อนแอ “คสช. 2” ติดกับสภาเสียงปริ่มน้ำผ่านงบปี 63

“การเลือกตั้งครั้งนี้ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ดีไซน์มาเพื่อพวกเรา” ประโยคนี้เป็นจริงเมื่อ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้สำเร็จ
ประกวดออกแบบ “รัฐธรรมนูญในฝัน” ประจำปี 2562
อ่าน

ประกวดออกแบบ “รัฐธรรมนูญในฝัน” ประจำปี 2562

ไอลอว์ชวนนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป ส่งผลงานเข้าประกวดเรียงความและคลิปวิดีโอว่าด้วยรัฐธรรมนูญในฝันส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง