กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส. ส่อแววช้า วุ่นสืบเนื่องปมแก้สูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ “หาร 500”
อ่าน

กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส. ส่อแววช้า วุ่นสืบเนื่องปมแก้สูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ “หาร 500”

26 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีมติให้กมธ. ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. นำร่างกลับไปทบทวนใหม่ สืบเนื่องจากปมการโหวตพลิกขั้ว แก้ไขร่างจากสูตรคำนวณส.ส.แบบบัญชีรายชื่อจาก "หาร 100" เป็น "หาร 500"
ประชุมสภา: กติกาเลือกตั้งใหม่ ใช้สูตร “หาร 500” ได้ระบบเลือกตั้ง MMA ฉบับดัดแปลง
อ่าน

ประชุมสภา: กติกาเลือกตั้งใหม่ ใช้สูตร “หาร 500” ได้ระบบเลือกตั้ง MMA ฉบับดัดแปลง

6 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีมติเห็นชอบ "มาตรา 23" ของ ร่าง พ.ร.ป.การเลือกตั้ง ส.ส. ตามคำแปรญัตติของ นายแพทย์ระวี ระวี มาศฉมาดล กมธ.เสียงข้างน้อย ด้วยคะแนนเสียง 354 ต่อ 162 เสียง ส่งผลให้วิธีการคำนวณที่นั่ง ส.ส. เป็นแบบ "สูตรหาร 500" กล่าวคือ ให้นำคะแนนเสียงรวมของทุกพรรคการเมืองมาหารจำนวน ส.ส. ทั้งหมด (500 คน) แล้วถึงคำนวณที่นั่ง ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อตามสัดส่วนคะแนน ซึ่งคล้ายกับระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม (MMA) ของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 .
ระบบเลือกตั้งฝรั่งเศส : ประชาชนเลือกได้สองรอบ การันตีเสียงข้างมากเด็ดขาด
อ่าน

ระบบเลือกตั้งฝรั่งเศส : ประชาชนเลือกได้สองรอบ การันตีเสียงข้างมากเด็ดขาด

24 เมษายน 2565 ชาวฝรั่งเศสจะเดินเข้าคูหาเป็นครั้งที่สองในรอบสองสัปดาห์เพื่อเลือกคนที่จะมาเป็นประธานาธิบดีในอีกห้าปีข้างหน้า
เปิดเส้นทางพรรคเล็ก จาก ส.ส. ปัดเศษ สู่ผู้กำหนดชะตากรรมรัฐบาล
อ่าน

เปิดเส้นทางพรรคเล็ก จาก ส.ส. ปัดเศษ สู่ผู้กำหนดชะตากรรมรัฐบาล

ย้อนดูเส้นทางของพรรคเล็ก จากที่เป็นผลผลิตอันผิดเพี้ยนของระบบเลือกตั้งและสูตรคำนวณที่นั่ง จนมาอยู่ในการดูแลของ “ฤๅษี” ชื่อธรรมนัส และอาจเป็นส่วนหนึ่งของการเดินเกมทางการเมืองล้มรัฐบาล
แก้รัฐธรรมนูญ ผ่านวาระสาม แล้วไงต่อ? ดูเส้นทางกว่าจะได้ใช้ระบบเลือกตั้งใหม่
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ ผ่านวาระสาม แล้วไงต่อ? ดูเส้นทางกว่าจะได้ใช้ระบบเลือกตั้งใหม่

วันที่ 10 กันยายน 2564 ที่ประชุมรัฐสภาร่วมกันของทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา มีกำหนดพิจารณาลงมติวาระสามร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ “ระบบเลือกตั้ง” ให้เป็นบัตรสองใบคล้ายคลึงกับระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 โดยหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมรัฐสภา ก็ไม่ได้หมายความว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะเสร็จสิ้น และได้ใช้ระบบเลือกตั้งใหม่กันในทันที แต่ยังมีหลายขั้นตอนกว่าระบบเลือกตั้งบัตรสองใบนี้จะถูกใช้อย่างเป็นทางการ
แก้รัฐธรรมนูญ: “ส.ว.สายทหารเห็นชอบ-สายต้านทักษิณคัดค้าน”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “ส.ว.สายทหารเห็นชอบ-สายต้านทักษิณคัดค้าน”

รัฐสภาเห็นชอบแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 สำเร็จเป็นครั้งแรก ให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบ และให้มี ส.ส.เขต 400 คน และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน โดยกลุ่มของ ส.ว. ที่มาจากการสรรหาคัดเลือกของคสช. เพราะการลงมติในครั้งนี้เป็นไปอย่างอิสระ มีการลงมติในทิศทางที่แตกต่างกัน
เปิดความเหมือน-ต่าง ระบบเลือกตั้ง 40 vs 64
อ่าน

เปิดความเหมือน-ต่าง ระบบเลือกตั้ง 40 vs 64

10 กันยายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเห็นชอบร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ “แก้ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรสองใบ ซึ่งมีความ “คล้ายคลึง” กับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2540 อย่างไรก็ตาม ทั้งสองระบบเลือกตั้งก็ไม่ได้เหมือนกันทั้งหมดเสียทีเดียว แต่มีจุดต่างสำคัญอยู่ที่เกณฑ์คะแนนขั้นต่ำที่พรรคการเมืองจะได้ ส.ส. บัญชีรายชื่อ
เช็คเสียงโหวต #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม ใครโหวตอะไรกันบ้าง?
อ่าน

เช็คเสียงโหวต #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม ใครโหวตอะไรกันบ้าง?

การลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ ครั้งนี้ เห็นชอบ 472 เสียง ไม่เห็นชอบ 33 งดออกเสียง 187 เสียง และยังได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ถึง 149 เสียง นับว่าเป็นปรากฎการณ์ "พลิกโผ" ที่หลายฝ่ายคาดกันว่าร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ จะถูกคว่ำด้วยเสียงของส.ว.
สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ
อ่าน

สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ

ชวนทำความรู้จักรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขให้กลับไปคล้ายกับรัฐธรรมนูญ 2540 คือให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบที่แยก ส.ส.เขต และบัญชีรายชื่อออกจากกัน รวมทั้งปรับสัดส่วนให้มี ส.ส.เขต 400 คน และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน
เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล

24 สิงหาคม 2564 การแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบเลือกตั้งใกล้จะเข้าสู่การพิจารณาเห็นชอบในวาระที่สอง ซึ่งเป็นการพิจารณาให้ความเห็นร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญแบบทีละมาตรา และเมื่อรัฐสภาพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระสองแล้วเสร็จให้รอไว้ 15 วัน จากนั้นถึงพิจารณร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่สามต่อได้ ทั้งนี้ ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมรัฐสภา ก็ถือได้ว่าเป็นความสำเร็จครั้งแรกของรัฐสภาในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ หลังจากถูกคว่ำจากวุฒิสภา และถูกเตะถ่วงจากฟากรัฐบาลอยู่หลายรอบ