No Penalty of Dissolving the Party for “Receiving the Donation Exceeding 10 Million”
อ่าน

No Penalty of Dissolving the Party for “Receiving the Donation Exceeding 10 Million”

The arguments against Constitutional Court’s decision to dissolve the Future Forward Party: the ‘Receiving the Donation Exceeding 10 Million’ under Section 66 of political parties law does not contain the punishment of party dissolvement and cannot be linked with Section 72.
เสียดายศาลรัฐธรรมนูญไม่ไต่สวน คิดดอกเบี้ยอย่างไรเกินสิบล้าน?
อ่าน

เสียดายศาลรัฐธรรมนูญไม่ไต่สวน คิดดอกเบี้ยอย่างไรเกินสิบล้าน?

นักวิชาการด้านนิติศาสตร์ร่วมกันแจกแจงการให้เหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ที่นำไปสู่การยุบพรรคการเมืองอันดับสองของฝ่ายค้านอย่างพรรคอนาคตใหม่
“รับบริจาคเกิน 10 ล้าน” ไม่มีโทษยุบพรรค
อ่าน

“รับบริจาคเกิน 10 ล้าน” ไม่มีโทษยุบพรรค

ความเห็นแย้งต่อคำวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่ของศาลรัฐธรรมนูญ การรับบริจาคเกิน 10 ล้านตามมาตรา 66 ของ พ.ร.ป.ว่าด้วยพรรคการเมือง ไม่มีโทษฐานยุบพรรค และไม่สามารถนำมาตรา 72 มาตีความใช้คู่กันได้ ผิดเจตนารมณ์
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ “ประธานศาลรัฐธรรมนูญ” วินิจฉัยเป็นคุณกับ คสช.
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ “ประธานศาลรัฐธรรมนูญ” วินิจฉัยเป็นคุณกับ คสช.

ท่ามกลางกระแสความเห็นที่แตกต่างในข้อเท็จจริงของคดียุบพรรคอนาคตใหม่ จากกรณีกู้เงินธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ว่าศาลสามารถตัดสินอย่างไรได้บ้าง อยากชวนทุกคนสำรวจที่มาและความคิดเห็นของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคนในการวินิจฉัยคดีทางการเมือง เพื่อให้เห็นทิศทางของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ
เปิดข้อกฎหมายคดียุบพรรคอนาคตใหม่: เงินกู้ไม่ใช่รายได้และกฎหมายไม่ได้ห้าม
อ่าน

เปิดข้อกฎหมายคดียุบพรรคอนาคตใหม่: เงินกู้ไม่ใช่รายได้และกฎหมายไม่ได้ห้าม

จากงานวิชาการและมุมมองของนักกฎหมายมีส่วนที่เห็นตรงกันว่า พรรคการเมืองไม่ได้มีสถานะเป็นองค์กรของรัฐ จึงต้องใช้หลักกฎหมายเอกชนกับพรรคการเมือง ซึ่งหมายความว่า ต้องใช้หลักการทำได้ทุกอย่างที่ไม่มีกฎหมายห้าม ในเมื่อไม่มีกฎหมายสั่งห้ามพรรคการเมืองกู้เงิน การกู้เงินก็ต้องสามารถกระทำได้ อีกทั้งในทางการเงินการบัญชี เงินกู้ไม่นับเป็นรายได้หรือเงินบริจาค แต่เป็นหนี้สินที่ต้องชำระคืน
5 เรื่องต้องรู้ จับตาคดียุบพรรคอนาคตใหม่
อ่าน

5 เรื่องต้องรู้ จับตาคดียุบพรรคอนาคตใหม่

21 มกราคม 2563 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคดียุบพรรคอนาคตใหม่ แต่เชื่อว่า หลายคนที่ไม่ได้ติดตามอย่างใกล้ชิดคงยังมีคำถาม ตั้งแต่ว่า ยุบพรรคในข้อหาอะไร ใช้อะไรเป็นหลักฐาน และศาลรัฐธรรมนูญเป็นใครมาจากไหน รวมถึงคำถามสำคัญที่ว่า ยุบอนาคตใหม่แล้วไงต่อ ชวนมาสำรวจคำตอบกัน
21 มกราคม คดี “ล้มล้างการปกครองฯ” ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดีไว้วินิจฉัยหรือไม่?
อ่าน

21 มกราคม คดี “ล้มล้างการปกครองฯ” ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดีไว้วินิจฉัยหรือไม่?

ในวันที่ 21 มกราคม 2563 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคำร้องขอให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ โดยอ้างว่า พรรคการเมืองนี้กระทําการอันอาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือที่เรียกชื่อเล่นว่า คดีอิลลูมินาติ แต่อย่างไรก็ดี คดีดังกล่าวมีประเด็นทางกฎหมายที่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยเรื่องอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญก่อนว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกคำวินิจฉัยในประเด็นการสั่งยุบพรรคการเมืองได้หรือไม่
วงเสวนาชี้ ยุบพรรคการเมืองคือการทำลายเสียงประชาชน
อ่าน

วงเสวนาชี้ ยุบพรรคการเมืองคือการทำลายเสียงประชาชน

8 มกราคม 2563 ที่คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) มีวงเสวนาในหัวข้อพรรคการเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยที่ว่าด้วยความสำคัญของสถาบันพรรคการเมือง ปมปัญหาของรัฐธรรมนูญ และบทบาทขององค์กรที่ใช้อำนาจตุลาการ ซึ่งส่งผลต่ออนาคตประชาธิปไตยไทย
เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคไทยรักษาชาติ
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคไทยรักษาชาติ

ศาลรัฐธรรมนูญออกนั่งพิจารณาเพื่ออ่านคำวินิจฉัย คดีที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคไทยรักษาชาติ กรณีที่พรรคไทยรักษาชาติยื่น “ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ” เป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรค ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นกระทําการอันอาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
เลือกตั้ง 62: ชะตากรรมเพื่อไทย หากไร้ไทยรักษาชาติ
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ชะตากรรมเพื่อไทย หากไร้ไทยรักษาชาติ

หากยังจำกันได้ในช่วงปลายปี 2561 พรรคการเมืองหน้าใหม่ชื่อ “ไทยรักษาชาติ” มีตัวย่อ “ทษช.” ถูกกล่าวขวัญถึงในสังคมว่าตัวย่อนี้มาจากชื่อของ “ทักษิณ ชินวัตร” อดีตนายกรัฐมนตรี ตามมาด้วยการตบเท้าเดินเข้าพรรคของอดีตสมาชิก และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จากพรรคเพื่อไทย ทั้งรุ่นเล็ก รุ่นใหญ่ อาทิ จาตุรนต์ ฉายแสง, ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ และ ขัตติยา สวัสดิผล ก็เข้ามาอยู่ในมุ้งไทยรักษาชาติ ภายใต้ยุทธศาสตร์ “แยกกันเดิน ร่วมกันตี” ซึ่งเกิดขึ้นจากผลกระทบของระบบเลือกตั้งแบบใหม่ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ที่ทำให้พรรคเพื่อไทยได้เก้าอี้ ส.ส. น้อยลง