อ่าน บทความเสรีภาพอื่นๆ เสรีภาพการแสดงออก มองกรณี “หนุ่มแว่น” ผ่านเลนส์กฎหมายอาญาตุลาคม 25, 2019 23 ตุลาคม 2562 ผู้ใช้เฟซบุ๊กชื่อ “โต้ เจ็ทโด้” โพสต์วิดีโอคลิป ชายสวมเสื้อขาวสวมแว่นตะโกนต่อว่ากรณีรถของเขากับรถของผู้ถ่ายวิดีโอเฉี่ยวชนกัน 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ เปรียบเทียบกฎหมายการแจ้งให้ลบเนื้อหา อเมริกาใช้เรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ ไทยเน้นใช้เรื่องความมั่นคงตุลาคม 23, 2017 ระบบการแจ้งเตือนให้ลบเนื้อหา (Notice and Takedown) เริ่มใช้แล้วในประเทศไทยตามประกาศกระทรวงดีอีฯ ลองดูบทเรียนจากกฎหมาย DMCA ของอเมริกาว่า ระบบนี้ถูกใช้ในประเทศต้นตำรับอย่างไร มีปัญหาอะไร จะช่วยให้เห็นว่า กฎหมายของไทยยังมีช่องว่างอย่างไรบ้าง 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก หวั่นมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ เปิดช่องคู่แข่งออนไลน์กลั่นแกล้งกันธันวาคม 24, 2016 วงเสวนาชี้ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ยังคลุมเครือในข้อกฎหมาย-ขอบเขตอำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 15 ใหม่เขียนมาคุ้มครองผู้ให้บริการ แต่ยังเปิดช่องให้คู่แข่งทางการค้ากลั่นแกล้งรีพอร์ตกัน ไม่เอื้อประโยชน์ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์ 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ DTAC-True ย้ำปัญหานิยาม “ผู้ให้บริการ” ชี้ Single Gateway จะกลับมาในรูปแบบใหม่ตุลาคม 23, 2016 ฝ่ายกฎหมายของทั้ง True และ Dtac ต่างกังวลมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เนื่องจากนิยามของผู้ให้บริการกว้างมาก และกำหนดให้ผู้ให้บริการมีความผิดเท่ากับผู้กระทำ ข้อเสนอแก้ไขสร้างปัญหาความทับซ้อนของกฎหมาย พร้อมชี้ Single Gateway ยังไม่ล้มเลิกไปแต่จะกลับมาในรูปแบบใหม่ 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก อะไรๆ ก็ผม … ปัญหาภาระทางกฎหมายของผู้ดูแลเว็บไซต์ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯพฤษภาคม 30, 2016 บทความจากนักศึกษานิติศาสตร์ เสนอความเห็นต่อมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ซึ่งสร้างภาระให้กับตัวกลางมากเกินไปในการต้องลบเนื้อหาที่ผิดกฎหมาย และความเห็นต่อร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่บางมุมช่วยบรรเทาปัญหาได้ แต่บางมุมก็ยังไม่ดีขึ้น 0 0 0