กฎหมายฮาเฮ : คนดูเต้นโชว์หน้าอกไม่ผิด แต่คนดูในคอมฯอาจติดคุก
อ่าน

กฎหมายฮาเฮ : คนดูเต้นโชว์หน้าอกไม่ผิด แต่คนดูในคอมฯอาจติดคุก

กฎหมายฮาเฮตอนที่ 9 เมื่อคนดูเด็กสาวเต้นโชว์หน้าอกในที่เปิดเผยไม่ผิด แต่คนถ่ายหรือคนดูในคอมพิวเตอร์ที่สามารถเผยแพร่ให้คนอื่นดูได้ อาจมีความผิด
อัด ร่างพ.ร.บ.คอมฯใหม่ “ซักซี๊ด-ห่วยขั้นเทพ” มั่วเรื่องลิขสิทธิ์
อ่าน

อัด ร่างพ.ร.บ.คอมฯใหม่ “ซักซี๊ด-ห่วยขั้นเทพ” มั่วเรื่องลิขสิทธิ์

งานเสวนา “เล่นเน็ตติดคุก” ที่ม.หอการค้าฯ นักนิติศาสตร์รุมอัดร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ ยำเละมาตรา 16 กรณีทำสำเนาติดคุกสามปี
“หยุด” ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
อ่าน

“หยุด” ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

จดหมายเปิดผนึก ขอให้ร่วมกันแสดงออกเพื่อ “หยุด” การนำร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฉบับใหม่เข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี
ไอซีทีเสนออัปเกรดพ.ร.บ.คอมฯ เพิ่มโทษผู้ดูแลระบบ โหลดบิทเสี่ยงคุก
อ่าน

ไอซีทีเสนออัปเกรดพ.ร.บ.คอมฯ เพิ่มโทษผู้ดูแลระบบ โหลดบิทเสี่ยงคุก

เปิดร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์เวอร์ชั่นใหม่จากกระทรวงไอซีที เพิ่มฟังก์ชั่น “ผู้ดูแลระบบ” โทษพิเศษกว่าคนทั่วไปเท่าครึ่ง ก๊อปปี้ไฟล์ โหลดบิท รับโปรโมชั่นคุกสามปี
จอน อึ๊งภากรณ์ : คนที่ปกป้องสถาบันมากที่สุดคือคนทำลายสถาบันมากที่สุด
อ่าน

จอน อึ๊งภากรณ์ : คนที่ปกป้องสถาบันมากที่สุดคือคนทำลายสถาบันมากที่สุด

จอน อึ๊งภากรณ์ เห็นว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตราที่เป็นปัญหาทั้งหลายที่จำกัดสิทธิเสรีภาพต้องยกเลิกให้ได้ สถาบันกษัตริย์ที่เป็นปกตินั้นสังคมจะให้ความเคารพโดยธรรมชาติ
ธีระ สุธีวรางกูล : ทำไม? การหมิ่นสถาบันจึงเกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ
อ่าน

ธีระ สุธีวรางกูล : ทำไม? การหมิ่นสถาบันจึงเกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ

รายงานวงอภิปราย พ.ร.บ.คอม/ป.อาญา : ถอดรหัสฟ้าตามหาเสรีภาพในโลกออนไลน์ หนึ่งในอาจารย์กลุ่มนิติราษฎร์ ระบุ พ.ร.บ.คอมฯ เกิดขึ้นในสถานการณ์ไม่ปกติเพื่อจำกัดเสรีภาพ พร้อมชวนตั้งคำถามถึงจำนวนคดีฐานหมิ่นนสถาบัน
ประชาไทเปิดใจ โดนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ สั่งปิด เสียหายกว่า 5 ล้าน
อ่าน

ประชาไทเปิดใจ โดนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ สั่งปิด เสียหายกว่า 5 ล้าน

หลังจากคณะรัฐมนตรีมีมติให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน เว็บไซต์หนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท แถลงข่าวเกี่ยวกับการปิดกั้นเว็บไซต์ข่าวประชาไท
สรุปสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ พ.ศ.2550 – 2553 [TH-EN]
อ่าน

สรุปสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ พ.ศ.2550 – 2553 [TH-EN]

นับแต่ประกาศใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถึงเดือนกรกฎาคม 2553 พบว่า มีการดำเนินคดีตามกฎหมายนี้แล้ว 185 คดี และ มีคำสั่งศาลให้ปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ 117 ฉบับ เพื่อปิดกั้นการเข้าถึง 74,686 ยูอาร์แอล