Niranam
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112

มาตรา 14(3) ถูกตำรวจนำมาตั้งข้อกล่าวหาคดีเพียงข้อหาเดียว โดยไม่ตั้งข้อหาตามหมวดความมั่นคงหรือหมวดก่อการร้ายในประมวลกฎหมายอาญาประกอบด้วย ทำให้มาตรา 14(3) มีสถานะขึ้นมาใช้แทนที่มาตรา 112 เดิมที่ช่วงหลังถูกใช้น้อยลง
26-2557
อ่าน

มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล

ประกาศ คสช. 26/2557 ยังไม่ถูกยกเลิก คสช.จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
Coffee Shop
อ่าน

หน้าที่ของร้านกาแฟ ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ฝ่าฝืนปรับสูงสุด 500,000

ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่ใช้อยู่ตั้งแต่ปี 2550 กำหนดความหมายของ "ผู้ให้บริการ" ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่ได้เจาะจงเฉพาะผู้ให้บริการรายใหญ่เท่านั้น ซึ่งร้านอาหาร และร้านกาแฟ ก็อยู่ข่ายนี้ด้วย ซึ่งผู้ให้บริการมีหน้าที่ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไว้ 90 วัน และอาจขยายได้ไม่เกินสองปี สร้างภาระอย่างมากให้กับธุรกิจขนาดเล็ก
Fake News
อ่าน

กฎหมายต่อต้าน “ข่าวปลอม” มีมากมาย ไม่ควรใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง

กระแสความเป็นห่วงเป็นใยต่อการแพร่หลายของ ข่าวปลอม หรือ FakeNewsมาพร้อมกับอิทธิพลของโซเชียลมีเดีย แต่หากการบังคับใช้กฎหมายตกอยู่ในมือของขั้วอำนาจทางการเมือง ข้ออ้างว่า "ต่อต้านข่าวปลอม" อาจกลายเป็นการวิพากษ์วิจารณ์โดยสุจริตก็เป็นได้
surveillance laws
อ่าน

สำรวจและเปรียบเทียบกฎหมายที่ให้อำนาจรัฐ“สอดส่อง” ประชาชน 4 ฉบับ

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เป็นกฎหมายหลักที่ให้อำนาจรัฐ สอดส่องโลกออนไลน์ แต่เมื่อมีกฎหมายฉบับอื่นๆ ออกตามมา ก็ให้อำนาจเพิ่มเติมอีกอย่างน้อย 3 ฉบับ
Computer law
อ่าน

“ขู่เอาผิดคนแชร์” แนวทางใหม่การใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดปาก

ในปี 2561 จำนวนคดี พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ จากการแชร์ข้อความบนโลกออนไลน์ โดยเฉพาะข้อความที่แสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น รวมถึงมีการนำ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาใช้ข่มขู่การแชร์ข้อมูลบนโลกออนไลน์   
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 2560: กฎหมายใหม่แต่ยังถูกใช้ปิดปากเหมือนเดิม

พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 แก้ไขใหม่เพื่อป้องกันการนำ พ.ร.บ.คอมฯ มาใช้ฟ้องหมิ่นประมาทกับประชาชน แต่ยังถูกนำมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนเหมือนเดิม โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาล    
อ่าน

เปรียบเทียบกฎหมายการแจ้งให้ลบเนื้อหา อเมริกาใช้เรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ ไทยเน้นใช้เรื่องความมั่นคง

ระบบการแจ้งเตือนให้ลบเนื้อหา (Notice and Takedown) เริ่มใช้แล้วในประเทศไทยตามประกาศกระทรวงดีอีฯ ลองดูบทเรียนจากกฎหมาย DMCA ของอเมริกาว่า ระบบนี้ถูกใช้ในประเทศต้นตำรับอย่างไร มีปัญหาอะไร จะช่วยให้เห็นว่า กฎหมายของไทยยังมีช่องว่างอย่างไรบ้าง
CCA
อ่าน

กระทรวงดีอีออกประกาศชัด ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงภายใน 24 ชั่วโมง

22 กรกฎาคม 2560 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง ขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทำให้แพร่หลายของข้อมูลคอมพิวเตอร์และการนำข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจากระบบคอมพิวเตอร์" และประกาศเรื่องอื่นๆ อีก รวม 5 ฉบับ หลังจากเคยเปิดรับฟังความคิดเห็นไปก่อนหน้านี้ 
Chatchawan Suksomjit
อ่าน

รวมความเห็นคนร่าง #พรบคอม ย้ำ ไม่ให้ใช้ฟ้องหมิ่นประมาทแล้ว

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ มีผลใช้แล้ว โดยมีเนื้อหาหลายส่วนดูจะเปิดกว้างให้ดำเนินคดีต่อการแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น ขณะที่คนร่างกฎหมายเอง ยืนยัน แก้ไขครั้งนี้ห้ามเอามาใช้กับหมิ่นประมาทเด็ดขาด จึงรวมปากคำคนร่างเอาไว้ เผื่อใครจะใช้เป็นหลักฐานเพื่อต่อสู้คดี