รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว
อ่าน

รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว

30 ตุลาคม 2566 ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดเบนจา อะปัญ อดีตนักกิจกรรมแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112  ที่เธอถูกกล่าวหาว่าปราศรัยและอ่านแถลงการณ์แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฉบับที่สอง เรื่อง นายทุน-ขุนศึก-ศักดินา และการเมืองหลังระบบประยุทธ์ ระหว่างคาร์ม็อบวันที่ 10 สิงหาคม 2564 โดยที่เนื้อหาบางตอนของแถลงการณ์พาดพิงและก่อให้เกิดความเสียหายกับพระมหากษัตริย์ โดยศาลพิพากษาว่าเบนจามีความผิด ให้ลงโทษจำคุกในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นเวลา 3 ปี และในความผิดฐานร่วมการชุมนุมฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำคุก 1 ปี กับปรับ 12,000 บาท  เนื่องจากเบนจาให้การเป็นปร
Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
เทียบ “อำนาจพิเศษ” ต่างประเทศใช้รับมือโควิด ไทยโดดเด่นที่ตัดการตรวจสอบ
อ่าน

เทียบ “อำนาจพิเศษ” ต่างประเทศใช้รับมือโควิด ไทยโดดเด่นที่ตัดการตรวจสอบ

ต้นปี 2563 รัฐบาลหลายประเทศเลือกที่จะประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน เพิ่มอำนาจให้กับฝ่ายบริหารให้สามารถออกมาตรการ “พิเศษ” ในสภาวการณ์ปกติทำไม่ได้
สองปี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หยุดอ้างโรคระบาด รักษาอำนาจให้ประยุทธ์
อ่าน

สองปี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หยุดอ้างโรคระบาด รักษาอำนาจให้ประยุทธ์

สองปีโควิด 19 รัฐบาลมีโอกาสออกกฎหมายใหม่ที่เหมาะสำหรับใช้ในสถานการณ์โรคระบาดแต่ก็ไม่ทำ ยังคงใช้กฎหมายที่ออกมาเพื่อการทหารปกครองประเทศต่อเนื่อง
ครช. ฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
อ่าน

ครช. ฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่

คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) เข้ายื่นคำร้องกับศาลรัฐธรรมนูญ ขอให้วินิจฉัยว่าพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่
กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อำนาจพิเศษควบคุมตัวคนได้ 7 วัน
อ่าน

กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อำนาจพิเศษควบคุมตัวคนได้ 7 วัน

การจับกุม และควบคุมตัวบุคคลจะอยู่ภายใต้ ป.วิอาญาฯ แต่ยังมีกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงอีก เช่น พ.ร.บ.กฎอัยการศึก หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.
รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง
อ่าน

รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง

สนช.ร่าง พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง โดยเนื้อหาให้ทหารกองหนุน กลับมาฝึกวิชาทหารอีกครั้งพื่อการเตรียมความพร้อมในกิจการของกระทรวงกลาโหม โดยหากฝ่าฝืนไม่เข้ารับราชการทหารมีโทษสูงสุดติดคุกสี่ปี ในส่วนของนายจ้างหากไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างซึ่งต้องรับราชการทหารในวันลามีโทษปรับสองหมื่นบาท
‘จับมั่ว-จับไม่เลือก’ มองสถานการณ์ฉุกเฉินปี 57 จากบทเรียน พฤษภา 53
อ่าน

‘จับมั่ว-จับไม่เลือก’ มองสถานการณ์ฉุกเฉินปี 57 จากบทเรียน พฤษภา 53

รัฐบาลประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินร้ายแรง ทำให้หลายฝ่ายหวั่นวิตกจะกระทบสิทธิประชาชน ขณะที่บางคนก็เชื่อว่าหากเชื่อฟังกฎหมาย ไม่ได้ทำผิด คงไม่กระทบอะไร iLaw คุยกับคนที่ติดตามคดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินสมัยปี 2553 ให้เห็นภาพว่านอกจากคนร้ายที่กฎหมายมุ่งจัดการแล้ว กฎหมายนี้จะกระทบคนทั่วไปอย่างไร