ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ระบุชัด ให้กรรมการ 5 คน สั่งปิดเว็บขัดศีลธรรมอันดี, การไม่ลบข้อมูลเป็นความผิดเพราะคนมี “สิทธิที่จะถูกลืม”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ระบุชัด ให้กรรมการ 5 คน สั่งปิดเว็บขัดศีลธรรมอันดี, การไม่ลบข้อมูลเป็นความผิดเพราะคนมี “สิทธิที่จะถูกลืม”

หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมประเด็นสำคัญการบล็อกเว็บที่ขัดกับศีลธรรมอันดี ทำโดยคณะกรรมการ 5 คนตัดสินใจ
สรุปร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับ พ.ย.59: พื้นที่ออนไลน์จะมีแต่ดราม่าหมาแมว
อ่าน

สรุปร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับ พ.ย.59: พื้นที่ออนไลน์จะมีแต่ดราม่าหมาแมว

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับที่เห็นในเดือนพฤศจิกายน 2559 ยังมีข้อห่วงกังวลอีกมาก หลักการ "แจ้งเตือนและเอาออก" อาจไม่แก้ปัญหา และอาจสร้างระบบเซ็นเซอร์ตัวเองขนาดใหญ่ เพิ่มความผิดฐานไม่ลบไฟล์ผิดกฎหมาย และฐานโพสต์ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับบริการสาธารณะ
เผยแพร่ “หนังโป๊” กฎหมายไทยห้ามชัด บางประเทศยังเปิดให้ดูได้เสรี
อ่าน

เผยแพร่ “หนังโป๊” กฎหมายไทยห้ามชัด บางประเทศยังเปิดให้ดูได้เสรี

หนังโป๊-ภาพโป๊ ตามกฎหมายไทย คือ เห็นหัวนมหญิง เห็นอวัยวะเพศหญิง-ชาย แล้วอุจาดตา ผิดอาญาอาจพ่วงผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ขณะที่หนังโป๊-ภาพโป๊ในหลายประเทศถูกกฎหมาย หาซื้อได้ง่าย แต่ก็จำกัดอายุผู้ชมและมีกฎกติกาที่ชัดเจนแตกต่างกันไป
เนื้อหาเดิม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) กลับมาแล้ว ซ้ำซ้อนกฎหมายหมิ่นประมาทแต่โทษหนักกว่า
อ่าน

เนื้อหาเดิม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) กลับมาแล้ว ซ้ำซ้อนกฎหมายหมิ่นประมาทแต่โทษหนักกว่า

แอมเนสตี้พบเนื้อหาเดิมที่มีปัญหาของมาตรา 14(1) ในร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ กลับมาแล้ว หลังถูกแก้ไขให้ดีขึ้นในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา พร้อมชวนประชาชนจับตาเส้นตายผ่าน พ.ร.บ. สิ้นเดือนพฤศจิกายนนี้
ประสานเสียงอัด มาตรา 14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ใช้ผิดเจตนารมณ์ กระทบเสรีภาพออนไลน์
อ่าน

ประสานเสียงอัด มาตรา 14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ใช้ผิดเจตนารมณ์ กระทบเสรีภาพออนไลน์

นักกฎหมายชี้ การใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ฟ้องคดีหมิ่นประมาทนั้นผิดเจตนารมณ์ สร้างผลกระทบต่อจำเลย เสนอตัดเรื่องนี้ออกจาก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เลย SEAPA ระบุ การผลักภาระให้จำเลยพิสูจน์ว่าข้อมูลส่วนไหนเท็จหรือจริง ทำให้นักข่าวทำงานยาก
DTAC-True ย้ำปัญหานิยาม “ผู้ให้บริการ” ชี้ Single Gateway จะกลับมาในรูปแบบใหม่
อ่าน

DTAC-True ย้ำปัญหานิยาม “ผู้ให้บริการ” ชี้ Single Gateway จะกลับมาในรูปแบบใหม่

ฝ่ายกฎหมายของทั้ง True และ Dtac ต่างกังวลมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เนื่องจากนิยามของผู้ให้บริการกว้างมาก และกำหนดให้ผู้ให้บริการมีความผิดเท่ากับผู้กระทำ ข้อเสนอแก้ไขสร้างปัญหาความทับซ้อนของกฎหมาย พร้อมชี้ Single Gateway ยังไม่ล้มเลิกไปแต่จะกลับมาในรูปแบบใหม่
อะไรๆ ก็ผม … ปัญหาภาระทางกฎหมายของผู้ดูแลเว็บไซต์ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
อ่าน

อะไรๆ ก็ผม … ปัญหาภาระทางกฎหมายของผู้ดูแลเว็บไซต์ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

บทความจากนักศึกษานิติศาสตร์ เสนอความเห็นต่อมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ซึ่งสร้างภาระให้กับตัวกลางมากเกินไปในการต้องลบเนื้อหาที่ผิดกฎหมาย และความเห็นต่อร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่บางมุมช่วยบรรเทาปัญหาได้ แต่บางมุมก็ยังไม่ดีขึ้น
3 องค์กรยื่นหนังสือ สนช. หวั่นร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ละเมิดสิทธิ
อ่าน

3 องค์กรยื่นหนังสือ สนช. หวั่นร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ละเมิดสิทธิ

ตัวแทนแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เครือข่ายพลเมืองเน็ต และไพรเวซี อินเตอร์เนชั่นแนล ส่งจดหมายถึงสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) โดยในจดหมายระบุถึงข้อเสนอแนะและข้อสังเกตเกี่ยวกับร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่กำลังเสนอเข้าสู่การพิจารณาของ สนช.
ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ “ตั้งคณะกรรมการปิดเว็บแม้ไม่ผิดกฎหมาย”
อ่าน

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ “ตั้งคณะกรรมการปิดเว็บแม้ไม่ผิดกฎหมาย”

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ หนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" เผยโฉมให้เห็นพร้อมเพิ่มอำนาจบล็อกเว็บอย่างกว้างขวางขึ้น พยายามแก้ปัญหาการหมิ่นประมาทออนไลน์แต่ยังคลุมเครือ เพิ่มขั้นตอนการแจ้งเตือนให้แอดมินลบข้อความผิดกฎหมาย ห้ามโพสต์ข้อความกระทบ "ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ" ฯลฯ