มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล
อ่าน

มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล

ประกาศ คสช. 26/2557 ยังไม่ถูกยกเลิก คสช.จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
โพสต์-แชร์ เพลง “ประเทศกูมี” อาจไม่ผิดเพราะไม่ใช่ “ข้อมูลเท็จ” ย้อนดูคำพิพากษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คุ้มครองการแสดงความเห็นบนข้อเท็จจริง
อ่าน

โพสต์-แชร์ เพลง “ประเทศกูมี” อาจไม่ผิดเพราะไม่ใช่ “ข้อมูลเท็จ” ย้อนดูคำพิพากษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คุ้มครองการแสดงความเห็นบนข้อเท็จจริง

26 ตุลาคม 2561 พ.ต.อ.ศิริวัฒน์ ดีพอ ผู้กำกับการ 3 กองบังคับการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ ปอท. กล่าวว่า มิวสิกวิดีโอเพลง “ประเทศกูมี” แนวเสียดสีสังคมของกลุ่มแร็ปเปอร์ ‘Rap Against Dictatorship’ น่าจะเข้าข่ายผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (2) ซึ่งเป็นการนำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงฯ การออกมาให้ความเห็นของเจ้าหน้าที่ตำรวจในลักษณะนี้ย่อมสร้างความหวาดกลัวให้กับผู้ที่แสดงความเห็น หรือผู้ที่แชร์เพลงดังกล่าวบนโลกออนไลน์ ซึ่งไอลอว์อยากหยิบตัวบทกฎหมายมากางกันดูให้ชัดๆ พร้อมทั้งหยิบคำพิพากษาในคดีลักษณะคล้ายกันมาแสดงเป็นตัวอย่าง เพื่อประกอบการแสดงความคิดเห็น ให้ทุกคนลองพิจารณาเองว่า การโพสต์หรือแชร์อย่างไรจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิด
Attitude adjusted?: “เหมือนจะทำให้เราบ้า” เจ็ดวันในค่ายทหาร ของวัยรุ่นที่ถูกกล่าวหาเป็น “แฮกเกอร์”
อ่าน

Attitude adjusted?: “เหมือนจะทำให้เราบ้า” เจ็ดวันในค่ายทหาร ของวัยรุ่นที่ถูกกล่าวหาเป็น “แฮกเกอร์”

16 ธันวาคม 2559 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) ท่ามกลางเสียงคัดค้านอย่างกว้างขวางบนโลกออนไลน์ สร้างความไม่พอใจให้แก่ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจำนวนมาก และเกิดเป็นกิจกรรมชักชวนกันโจมตีเว็บไซต์ราชการหลายแห่ง เพื่อแสดงออกถึงความไม่เห็นด้วยดังกล่าว กิจกรรมนี้นำโดยเพจเฟซบุ๊กที่ใช้ชื่อว่า พลเมืองต่อต้านซิงเกิ้ลเกตเวย์ และวันที่ 19 ธันวาคม 2559 ผู้ต้องสงสัยรายแรกก็ถูกจับได้ เป็นนักศึกษา ปวส. ด้านคอมพิวเตอร์ ขณะถูกจับอายุ 19 ปี เราจะเรียกเขาด้วยนามสมมติว่า “นัท”
อ่าน

“ข้อมูลเท็จ” #พรบคอม ฉบับใหม่ สื่อเสี่ยงถูกปิดกั้นการรายงานข่าว แนวโน้มใหม่ที่ไม่สามารถเลี่ยงข้อกล่าวหาได้

เวทีเสวนาวิชาการสะท้อน ในร่าง #พรบคอมฯ ฉบับใหม่ ข้อกล่าวหาเสนอ “ข้อมูลเท็จ” เป็นแน้วโน้มที่สื่อไม่สามารถเลี่ยงได้ นักสิทธิมนุษยชนมีข้อกังวลคำว่า “ศีลธรรมอันดี-ความมั่นคงของชาติ” ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการ 9 คน
หวั่นมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ เปิดช่องคู่แข่งออนไลน์กลั่นแกล้งกัน
อ่าน

หวั่นมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ เปิดช่องคู่แข่งออนไลน์กลั่นแกล้งกัน

วงเสวนาชี้ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ยังคลุมเครือในข้อกฎหมาย-ขอบเขตอำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 15 ใหม่เขียนมาคุ้มครองผู้ให้บริการ แต่ยังเปิดช่องให้คู่แข่งทางการค้ากลั่นแกล้งรีพอร์ตกัน ไม่เอื้อประโยชน์ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์
ทวิตเตอร์: พื้นที่สร้างตัวตน ต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคมของกลุ่มเกย์
อ่าน

ทวิตเตอร์: พื้นที่สร้างตัวตน ต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคมของกลุ่มเกย์

เสวนาเรื่อง มองปรากฏการณ์เรื่องเพศในสังคมไทย ปี 2559 เสนอประเด็นเกี่ยวกับพื้นที่และตัวตนของกลุ่มเกย์ในทวิตเตอร์ ที่มีการเผยแพร่คลิปความสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย การขายเซ็กส์ผ่านไลน์สร้างรายได้ และการต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคม
ร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ใช่ฉบับเดียวที่ต้องจับตา ถ้าทุกฉบับผ่านก็หมายความได้ว่า Single Gateway
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ใช่ฉบับเดียวที่ต้องจับตา ถ้าทุกฉบับผ่านก็หมายความได้ว่า Single Gateway

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่กำลังจะผ่าน สนช. ยังไม่ใช่ Single Gateway และไม่ใช่กฎหมายฉบับเดียวที่จะมาควบคุมการใช้งานอินเทอร์เน็ต การสื่อสาร และข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชน แต่ยังมีอีกมากทั้งที่ผ่านแล้วและรอคิวอยู่
รณรงค์: ขอเสียงประชาชน หยุด! ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ฉบับใหม่
อ่าน

รณรงค์: ขอเสียงประชาชน หยุด! ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ฉบับใหม่

ตามระเบียบวาระการประชุมของสนช. ลงวันที่ 15 ธันวาคมนี้ มีความเป็นไปได้ที่จะมีการพิจารณาให้ความเห็นชอบในวาระ 3 ของสภา (เห็นชอบให้ประกาศใช้เป็นกฎหมาย) "ร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ" ฉบับใหม่ ทั้งที่กฎหมายดังกล่าวยังเต็มไปด้วยปัญหา ดังนั้น นี่จึงเป็นวาระสำคัญที่ประชาชนจะต้องออกมาคัดค้านกฎหมายฉบับนี้
เวที สนช.ยัน ห้ามใช้ พ.ร.บ.คอมฯ ฟ้องหมิ่นประมาท แต่ยืนกราน “ข้อมูลเท็จ” ยังเป็นความผิด
อ่าน

เวที สนช.ยัน ห้ามใช้ พ.ร.บ.คอมฯ ฟ้องหมิ่นประมาท แต่ยืนกราน “ข้อมูลเท็จ” ยังเป็นความผิด

เวทีรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.คอมฯ ที่รัฐสภาคึกคัก ผู้เข้าร่วมส่งข้อกังวล ม. 14 ใช้ปิดปาก ห้ามวิจารณ์-ห้ามตรวจสอบ ด้าน กมธ.ร่างฯ ย้ำ พ.ร.บ.คอมฯ ไม่ใช่กฎหมายหมิ่นประมาทออนไลน์ แต่ยังมีเงื่อนไข ห้ามเสนอ "ข้อมูลเท็จ"