เทียบ “พ.ร.บ.ทรัพย์สินฯ 4 ฉบับ” พระราชอำนาจกษัตริย์เพิ่มขึ้นอย่างไรบ้าง?
อ่าน

เทียบ “พ.ร.บ.ทรัพย์สินฯ 4 ฉบับ” พระราชอำนาจกษัตริย์เพิ่มขึ้นอย่างไรบ้าง?

นับตั้งแต่ปี 2475 “พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์” ถูกแก้ไขปรับปรุงมาแล้วอย่างน้อยสี่ครั้งในประเด็นต่างๆ ในวาระครบรอบ 90 ปีการอภิวัตน์สยาม ไอลอว์ชวนย้อนดูสาระสำคัญของการเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้ง ภายใต้ช่วงเวลาและเหตุการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา  
10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ
อ่าน

10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ

ชวนพิจารณาข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ทั้ง 10 ข้อ หากจะนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้ มีอย่างน้อย 5 ข้อ ที่ต้องอาศัยกระบวนการออกกฎหมายของรัฐสภาเป็นกลไกสำคัญ ส่วนอีก 5 ข้อนั้น ต้องอาศัยการปฏิรูปทัศนคติของคนในสังคมและวัฒนธรรมความเชื่อ
ความแตกต่าง ระหว่าง พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฯ ปี 2560 และ 2561
อ่าน

ความแตกต่าง ระหว่าง พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฯ ปี 2560 และ 2561

พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2561 ถูกบรรจุระเบียบวาระการประชุมที่ 71/2561 ซึ่งไม่ได้แนบเอกสารที่เกี่ยวกับไว้ในเว็บไซต์ สนช. อย่างไรก็ตาม วันที่ 25 ตุลาคม 2561 ที่ประชุมลับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ก็เห็นชอบ พ.ร.บ.ฉบับนี้ ด้วยคะแนนเห็นชอบ 194 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง การประกาศใช้ พ.ร.บ.ฉบับนี้ มีผลทำให้ “พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560” ซึ่ง สนช. เพิ่งเห็นชอบไปเมื่อปีที่แล้วต้องถูกยกเลิกไป สำหรับความแตกต่างของ พ.ร.บ.ทั้งสองฉบับมีดังนี้
เปรียบเทียบ พ.ร.บ. จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ ฉบับแก้ไข ปี 2491 และฉบับปี 2560
อ่าน

เปรียบเทียบ พ.ร.บ. จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ ฉบับแก้ไข ปี 2491 และฉบับปี 2560

ราชกิจจานุเบกษา ประกาศใช้ พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ โดยไม่มีข้อมูลการพิจารณาใน สนช. เปลี่ยนระบบเป็นให้พระมหากษัตริย์จัดการได้ตามพระราชอัธยาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไม่ต้องเป็นประธานสำนักงานทรัพย์สินฯ อีกต่อไป