ที่มา “มหาเถรสมาคม” ตามพ.ร.บ.คณะสงฆ์ แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์
อ่าน

ที่มา “มหาเถรสมาคม” ตามพ.ร.บ.คณะสงฆ์ แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์

จากกรณี "ปลดสามเจ้าคณะจังหวัด" และ "กฎมหาเถรสมาคมห้ามสงฆ์เรียนอย่างคฤหัสถ์" ที่เกิดไล่เลี่ยกัน มีจุดร่วม คือ องค์กรผู้ใช้อำนาจเป็น “มหาเถรสมาคม” องค์กรปกครองฝ่ายสงฆ์ในไทย ที่มีอำนาจจัดระเบียบคณะสงฆ์ ปลดเจ้าคณะจังหวัด รวมไปถึงการออกคำสั่งเพื่อให้คณะสงฆ์ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน 
บทเรียนจาก 6 ตุลาฯ เมื่อ “พลังฝ่ายขวา” ที่อ้างสถาบันกษัตริย์ ต้องการหยุดความเปลี่ยนแปลง
อ่าน

บทเรียนจาก 6 ตุลาฯ เมื่อ “พลังฝ่ายขวา” ที่อ้างสถาบันกษัตริย์ ต้องการหยุดความเปลี่ยนแปลง

เมื่อหนึ่งในสามข้อเรียกร้องของผู้ชุมนุมกลุ่มราษฎรคือข้อเรียกร้องให้มีการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ พวกเขาเลือกเคลื่อนไหวอย่างตรงไปตรงมาและต่อเนื่องผ่านกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ รัฐบาลของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา จึงยกระดับการควบคุมการแสดงออก โดยประกาศว่าจะใช้กฎหมายทุกฉบับ ทุกมาตรา และประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ก็ถูกนำกลับมาใช้ดำเนินคดีผู้วิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางที่สุด ส่งผลให้นับจากเดือนพฤศจิกายน 2563 – 29 กันยายน 2564 มีผู้ถูกตั้งข้อกล่าวหาคดีมาตรา 112 แล้วอย่างน้อย 144 คน จาก 144 คดี ในจำนวน
ชาญวิทย์: อุดมการณ์อันยาวนาน กับใบปลิวเอกสารที่รอการพิสูจน์
อ่าน

ชาญวิทย์: อุดมการณ์อันยาวนาน กับใบปลิวเอกสารที่รอการพิสูจน์

แม้ในปี 2558 ชาญวิทย์ จะมีอายุ 60 ปีแล้ว แต่เขาก็ยังคงเป็นคนที่มีความตื่นตัวทางการเมือง ไม่ต่างจากสมัยหนุ่มๆ ที่เคยร่วมเคลื่อนไหวในเหตุการณ์เดือนตุลา ทั้งปี 2516 และ 2519 จนต้องสูญเสียอิสรภาพ ในครั้งนี้ (ปี 2558) ชาญวิทย์ต้องสูญเสียอิสรภาพอีกครั้ง เมื่อใบปลิวที่เขาแจกในงานชุมนุมทางการเมืองที่ท่าน้ำนนท์ เมื่อปี 2550 ถูกมองว่าเข้าข่ายความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112     ชาญวิทย์เป็นชาวจังหวัดพัทลุง เขาจบการศึกษามัธยมปลาย จากโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
กฎหมายพุทธศาสนาใหม่ “แผงพระ พระเบี่ยงเบน” อาจติดคุก
อ่าน

กฎหมายพุทธศาสนาใหม่ “แผงพระ พระเบี่ยงเบน” อาจติดคุก

ความพยายามเสนอ ร่าง พ.ร.บ.อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นหลังรัฐประหาร 2549 และต่อเนื่องถึงรัฐบาลหลังจากนั้นหลายครั้งแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ หลังรัฐประหาร 2557 ร่างกฎหมายฉบับนี้กลับมาอีกครั้ง และเป็นกฎหมายฉบับต้นๆ ที่คณะรัฐประหารอนุมัติหลักการก่อนจะมี ครม. และ สนช.ด้วย  
สังคมไทยได้อะไรจากการมีภิกษุณี
อ่าน

สังคมไทยได้อะไรจากการมีภิกษุณี

ภิกษุณีธัมมนันทา กล่าวถึงประเด็น “ผู้หญิงสามารถบวชเป็นภิกษุณีได้หรือไม่” ว่า พระพุทธองค์ไม่ได้มีข้อบัญญัติห้ามไม่ให้ผู้หญิงบวช เป็นเพียงผลจากการตีความของประวัติศาสตร์
ขอเพิ่มแค่คำเดียว “ภิกษุณีสงฆ์”
อ่าน

ขอเพิ่มแค่คำเดียว “ภิกษุณีสงฆ์”

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เคยอนุญาตให้ผู้หญิงบวชเป็นภิกษุณี และรัฐธรรมนูญไทยก็ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาเป็นของทุกคนไม่แยกเพศ