อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญและรัฐสภา รัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้วพฤษภาคม 26, 2023 ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก 0 0 0
อ่าน กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย ประกาศ/คำสั่ง คสช./ม.44 9 ปี คสช. รัฐบาลประยุทธ์อำนาจเต็มมือแต่ยังออก พ.ร.ก. 31 ฉบับพฤษภาคม 22, 2023 เป็นเวลา 9 ปีเต็มแ… 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญและรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัวพฤษภาคม 18, 2023 18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก. 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ ประชุมสภา รัฐสภา สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้าน: ส.ส. มีเสียงค้าน แต่ ส.ว.ผ่านฉลุย!มิถุนายน 3, 2020 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเกี่ยวกับ พ.ร.ก.เงินกู้ สามฉบับ หลังจากมีการอภิปรายถึงห้าวัน ผลคือ เห็นชอบให้ผ่าน พ.ร.ก.ทั้งสามฉบับ และได้ส่งต่อไปให้วุฒิสภาพิจารณา และลงมติอีกครั้ง ซึ่งที่ประชุม ส.ว.ใช้เวลาทั้งหมดสองวัน และลงมติเห็นชอบทั้งสามฉบับโดยไม่มี ส.ว. คนใดไม่เห็นชอบเลย 0 0 0
อ่าน กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง กฎหมายอื่นๆ จับตา สนช. ชุมนุมสาธารณะ ติดตามกฎหมาย ปฏิรูปประเทศ/ยุทธศาสตร์ชาติ ประกาศ/คำสั่ง คสช./ม.44 พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา สว.ชุดพิเศษ องค์กรอิสระ เสรีภาพการแสดงออก ‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”พฤษภาคม 24, 2020 ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ โควิด-19 สู่ พ.ร.ก.ใหม่ ประชุมออนไลน์ต้องบันทึกภาพเสียง และเก็บ Log Fileเมษายน 27, 2020 วันที่ 19 เมษายน 2563 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ พ.ร.ก.ว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563 เพื่อใช้แทนกฎหมายเดิม มีการแก้ไขเรื่องสำคัญ เช่น ให้การประชุมออนไลน์ไม่ต้องให้ผู้เข้าร่วมประชุมอยู่ด้วยกันอย่างน้อย 1 ใน 3, ผู้ร่วมประชุมออนไลน์ทั้งหมดไม่จำเป็นต้องอยู่ภายในประเทศไทย, การประชุมต้องมีการเก็บข้อมูลจราจรอิเล็กทรอนิกส์ (Log File) และการจัดประชุมออนไลน์ต้องเตรียมการลงมติทั้งลับ และไม่ลับไว้ด้วย 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ พ.ร.ก.กู้เงินฯ: ช่องทางหาเงินพิเศษของรัฐบาลที่ต้องจับตาเมษายน 19, 2020 เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจรวมถึงการรับมือกับปัญหาทั้งหมดทั้งมวลที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดของโคโรน่าไวรัสสายพันธ์ุใหม่ หรือ “โควิด-19” รัฐบาล คสช.2 เตรียมออกมาตรการกู้เงินพิเศษอย่างน้อย 1 ล้านล้านบาท โดยสิ่งที่น่าสนใจ คือ การกู้เงินดังกล่าวจะเป็นการใช้ “ช่องทางพิเศษ” ตาม พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ ซึ่งมีข้อจำกัดในการตรวจสอบแก้ไขวงเงินกู้ที่รัฐบาลต้องใช้ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ 0 0 0
อ่าน งบประมาณ ติดตามกฎหมาย “ออฟชั่นเสริม” เติมสภาพคล่องทางการคลังรับมือวิกฤติโควิด 19มีนาคม 30, 2020 การรับมือโรคระบาดนั้นสัมพันธ์กับการบริหารจัดการงบประมาณของรัฐ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน เยียวยา ทุกภาคส่วน แม้ปกติ รัฐบาลจะมี พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นกระเป๋าตังค์หลัก แต่ก็อาจไม่เพียงพอ จึงต้องมีออฟชั่นเสริม เติมสภาพคล่องให้รัฐบาล 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ เครื่องมือทางการคลังในสถานการณ์ฉุกเฉินมีนาคม 27, 2020 การแพร่ระบาดของโควิด 19 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ได้สร้างผลกระทบอย่างใหญ่หลวงให้กับโลก ไม่ว่าจะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ดังนั้น การรับมือสถานการณ์วิกฤติรัฐต้องมีความเพียบพร้อมในการใช้เงินงบประมาณแก้ปัญหา แต่เนื่องจากการใช้งบประมาณต้องตราเป็นกฎหมายไว้ล่วงหน้าซึ่งอาจไม่ทันกาลกับวิกฤติ ดังนั้น รัฐธรรมนูญ และกฎหมายงบประมาณจึงมีมาตรการอื่นๆ ให้รัฐบาลสามารถเลือกใช้ได้ 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาลตุลาคม 18, 2019 พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของคณะรัฐมนตรี โดยอาศัยอำนาจตามที่รัฐธรรมนูญวางไว้ว่าเป็นกรณีฉุกเฉิน 0 0 0