7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ

ทบทวนบทบาทของ สนช. ที่แก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายหลายครั้งอย่างลับๆ เกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ เมื่อถึงยุคของ ส.ว. ก็ยังตั้งกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ รวมทั้งขวางการ #แก้รัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์ และอีก 38 มาตรา
เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

การพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง ส.ว.บางรายได้ทิ้งประเด็นเกี่ยวพระราชอำนาจ 38 มาตรา นอกเหนือหมวด 2 ไว้ ซึ่งกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญของ ส.ว. ใช้เป็นข้ออ้างในการคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม โดยทั้ง 38 มาตรานั้น ล้วนมี keyword ที่ปรากฏในบทบัญญัติ คือ คำว่า พระมหากษัตริย์
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
สถานะของ “พระบรมราชโองการ” ในรัฐธรรมนูญ 2560
อ่าน

สถานะของ “พระบรมราชโองการ” ในรัฐธรรมนูญ 2560

สถานะของ "พระบรมราชโองการ" รัฐธรรมนูญ2560 และกฎหมายอื่นๆ ไม่ได้นิยามไว้ และไม่ได้จัดลำดับศักดิ์ไว้ว่า มีสถานะอย่างไร อยู่สูงกว่าหรือต่ำกว่ากฎหมายและรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ รวมทั้งไม่ได้กำหนดเงื่อนไขในการออกแต่ละครั้งอย่างไร
การสืบราชสันตติวงศ์ (สืบราชสมบัติ)
อ่าน

การสืบราชสันตติวงศ์ (สืบราชสมบัติ)

สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันสำคัญของประชาชนชาวไทย และอยู่คู่สังคมไทยมาอย่างช้านาน ไม่ว่าประเทศจะประสบปัญหาใดๆ แต่สถาบันฯ ไม่เคยห่างหายไปจากสังคม ขั้นตอนหนึ่งของการคงอยู่อย่างต่อเนื่องก็คือ “การสืบราชสันตติวงศ์” ที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ และรัฐธรรมนูญ 2550
ทำความเข้าใจ “โทษ 7 ปี 30 เดือน” ของชญาภา
อ่าน

ทำความเข้าใจ “โทษ 7 ปี 30 เดือน” ของชญาภา

เปิดรายละเอียดคดีชญาภา  “ศาลทหารพาตัวไปพิพากษาโดยไม่มีทนายความ”  ให้ลงโทษตามมาตรา 112 จาก 2 โพสต์ ตามมาตรา 116 จาก 3 โพสต์ รวมจำคุก 19 ปี ลดเหลือ 7 ปี 30 เดือน สำหรับรายละเอียดของคดีนี้ ดูได้ที่ http://freedom.ilaw.or.th/case/689 ในช่วงที่มีข่าวลือแพร่สะพัดว่าอาจมีรัฐประหารซ้อนเพื่อโค่นล้มรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ชญาภา อายุ 48 ปี อาชีพเป็นพนักงานบัญชีของบริษัทเอกชน ถูกจับกุมและจัดให้มีการแถลงข่าวการจับกุมเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน
คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ
อ่าน

คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ

คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์
ต่างจุดยืน ต่างความเห็น : กฎหมายอาญามาตรา 112 ละเมิดสิทธิเสรีภาพหรือเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
อ่าน

ต่างจุดยืน ต่างความเห็น : กฎหมายอาญามาตรา 112 ละเมิดสิทธิเสรีภาพหรือเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม

ข้อกล่าวหาหมิ่นฯ กษัตริย์ฯ กลายเป็นข้อกล่าวหายอดนิยมระหว่างนักการเมือง และบุคคลต่างๆ ในสังคม ต่างฝ่ายต่างแย่งชิงความจงรักภักดี ขณะที่ผู้บริสุทธิ์จำนวนมาต้องโทษทัณฑ์และตกเป็นจำเลยของสังคม