รวมข้อมูลการเลือกตั้ง 2562
อ่าน

รวมข้อมูลการเลือกตั้ง 2562

รวมข้อมูลทางกฎหมายเพื่อให้ประชาชนเข้าใจกติกาการเลือกตั้งที่จะใช้เป็นครั้งแรกในปี 2562 เข้าใจกลไกที่สร้างความได้เปรียบเสียเปรียบ เพื่อให้ประชาชนสามารถตัดสินใจได้ ในสนามที่คสช. วางเกมมานาน
เลือกตั้ง 62: 4 เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นหลัง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีผลใช้บังคับ
อ่าน

เลือกตั้ง 62: 4 เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นหลัง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีผลใช้บังคับ

11 ธ.ค. 2561 พ.ร.ป.การเลือกตั้ง ส.ส. มีผลใช้บังคับ ซึ่งสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาคือ “การเลือกตั้ง” ในปี 2562 นอกจากนี้ยังมีเรื่องต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นอีก ไอลอว์รวบรวมเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างน้อยๆ 4 เรื่อง  มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง
เลือกตั้ง 62: ระบบนับที่นั่ง MMA ทำพรรคใหญ่แตกตัว พรรคเล็กเกิดไม่ได้
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ระบบนับที่นั่ง MMA ทำพรรคใหญ่แตกตัว พรรคเล็กเกิดไม่ได้

ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม หรือ MMA ถูกใช้เป็นครั้งแรก ประชาชนต้องกาบัตรใบเดียวนำคะแนนไปคิดสองรอบ พร้อมกับสูตรคำนวนที่นั่งปาร์ตี้ลิสต์แบบใหม่ ทำให้พรรคใหญ่เสียเปรียบ พรรคขนาดกลางได้เปรียบ และพรรคเล็กเกิดไม่ได้ ก่อให้เกิดปรากฏการณ์แปลกๆ ตามมา
เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญปี 2560 กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเกิดขึ้นในปี 2562 และเพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปตามที่คสช. มุ่งหวังไว้ คสช. จึงขอเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ปี 2557 ไปแก้กติกาเพื่อช่วยพรรคการเมืองบางพรรคหรือสร้างเงื่อนไขให้บางพรรค และล่าสุดคือ แก้การแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ตามความเห็น คสช. และรัฐบาล
เลือกตั้ง 62: ‘โซเชียลมีเดีย’ จะเป็นสมรภูมิรบสำคัญเป็นครั้งแรก
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ‘โซเชียลมีเดีย’ จะเป็นสมรภูมิรบสำคัญเป็นครั้งแรก

งานเปิดตัวเว็บไซต์ ELECT.in.th สื่อข้อมูลการเมืองการเลือกตั้งไทย นักวิชาการสามท่านร่วมพูดคุยในคำถามใหญ่ว่า โลกอินเทอร์เน็ต โซเชียลมีเดีย และฐานข้อมูลการเลือกตั้งจะส่งผลต่อการเลือกตั้งปี 2562 อย่างไร และพรรคการเมืองกับประชาชนจะใช้ประโยชน์จากเครื่องมือเหล่านี้อย่างไรได้บ้าง นักวิชาการเห็นพ้องว่าโซเชียลมีเดียมีพลังเปลี่ยนแปลงการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นในปี 62 ไม่มากก็น้อย
เลือกตั้ง 62: บทบาทศาลกับการเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: บทบาทศาลกับการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งในปี 2562 ศาลต่างๆ จะเข้ามามีบทบาทเกี่ยวการเลือกตั้งในหลายส่วน ภายใต้กติกาที่ คสช. ที่ไม่เป็นธรรมกับพรรคการเมืองทำให้ศาลถูกคาดหวังจากทุกฝ่าย สำหรับบทบาทของศาลในการเลือกตั้งกระจายไปตาม พ.ร.ป. สองฉบับ คือ พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งส.ส. และพ.ร.ป.ว่าด้วย กกต.  
เลือกตั้ง 62: เส้นตาย! 26 พ.ย. ถ้าจะลงเลือกตั้งพรรคการเมืองใหม่ต้องตั้งเสร็จ
อ่าน

เลือกตั้ง 62: เส้นตาย! 26 พ.ย. ถ้าจะลงเลือกตั้งพรรคการเมืองใหม่ต้องตั้งเสร็จ

ภายใต้การปกครองของคสช. ที่ห้ามพรรคการเมืองใหม่เกิดขึ้นเลยตลอดสี่ปี และเพิ่งประกาศให้เริ่มจดจัดตั้งพรรคได้ ทำให้พรรคใหม่มีระยะเวลาเตรียมตัวที่สั้นเกินไปบวกกับเงื่อนไขในการจัดตั้งพรรคที่ยากอาจจะทำให้พรรคหน้าใหม่จำนวนมากจัดตั้งไม่เสร็จสมบูรณ์ทันตามกรอบเวลาเพื่อที่จะลงเลือกตั้ง 
นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.
อ่าน

นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.

เครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และมีผลในทางปฏิบัติ (Free, Fair & Fruitful Election) หรือ FFFE จัดเวทีเสวนา เรียกร้องให้ กกต. เป็นกลาง สนับสนุนพรรคการเมือง ไม่อยู่ใต้อาณัติคสช. ชี้ กติกาการเลือกตั้งยังสุ่มเสี่ยงทำการเลือกตั้งไม่เสรีและเป็นธรรม ประกอบกับบทบาทของ คสช. ยังมีส่งผลต่อการเลือกตั้งและพรรคการเมือง
7 พรรคประสานเสียงถึง คสช. ขอเลือกตั้งปี 62 เสรีเป็นธรรมไม่เอาเปรียบคู่แข่ง
อ่าน

7 พรรคประสานเสียงถึง คสช. ขอเลือกตั้งปี 62 เสรีเป็นธรรมไม่เอาเปรียบคู่แข่ง

วันที่ 14 ตุลาคม 2561 เครือข่าย FFFE จัดเสวนาการเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรมกับอนาคตสังคมและการเมืองไทย โดยมีตัวแทน 7 พรรคการเมืองมาร่วมเวที แต่ละพรรคประสานเสียงถึง คสช. ในฐานะผู้มีอำนาจสูงสุด และ กตต. ในฐานะกรรมการให้จัดการเลือกตั้งในปี 2562 อย่างเสรีและเป็นธรรมไม่ใช้กติกาและอำนาจที่ตัวเองมีเอาเปรียบพรรคการเมืองอื่นๆ
หาเสียงออนไลน์: เลือกตั้งภายใต้ คสช. คุมโซเซียลมีเดียเข้ม
อ่าน

หาเสียงออนไลน์: เลือกตั้งภายใต้ คสช. คุมโซเซียลมีเดียเข้ม

การเลือกตั้งช่วงปี 2562 การหาเสียงออนไลน์โดยใช้โซเซียลมีเดียมีความสำคัญอย่างมาก ต้นปี 2561 ประเทศไทยผู้มีใช้อินเทอร์เน็ต 57 ล้านคน ดังนั้นกาโซเชียลมีเดียจึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการหาเสียง ขณะที่ใกล้สู่ช่วงเลือกตั้งตามโรดแมป คสช. แต่การปลดล็อกให้พรรคการเมืองหาเสียงไม่ว่าจะทางใดยังคงเป็นข้อห้าม