51669493496_18ace5d130_o
อ่าน

ผู้แทนไทยแจงกลางวง UPR แก้ 112 เป็นเรื่องของสภา นานาชาติห่วงใช้กฎหมายขวางการแสดงออก

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 คณะผู้แทนไทยนำโดยธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ซึ่งเป็นกลไกลภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council) ที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติกว่า 193 ประเทศจะต้องเข้าร่วมโดยแต่ละรอบจะมีระยะห่างสี่ปีครึ่ง โดยในครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่สามแล้วที่ไทยจะต้องชี้แจงสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนต่อชาติสมาชิกสหประชาชาติ และต้องรับฟังข้อเสนอจากชาติสมาชิกสหประชาชาติอื่นๆ ภายใต้กลไก UPR ประเทศที่ถูกทบท
Environment
อ่าน

รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.

หลัง คสช. เข้ายึดอำนาจ คสช. พยายามกระตุ้นเศรษฐกิจและพยายามส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การผลักดันเรื่อง "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ" "การจัดการระบบสัปทานแร่" "การกำกับดูแลโรงงาน"  แต่ปัญหาของการพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจภายใต้ คสช. ได้ลดทอนมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมลงเพื่ออำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุน
Daft of industry act
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ. โรงงาน: ระเบิดเวลาของชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ร่าง พ.ร.บ.โรงงานฉบับใหม่ เปิดช่องให้มีการปลดล็อคโรงงานขนาดเล็กออกจากการควบคุม การตัดอำนาจกรมโรงงานเข้าไปควบคุมตรวจสอบ หรือ เปิดช่องเอกชนตรวจสอบโรงงานกันเอง-ช่วยกันเอง ซึ่งทำให้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการลดมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและชุมชน จนมีภาคประชาชนออกมาคัดค้าน
All for me
อ่าน

รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม

การพยายามสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษของ คสช. โดยอาศัยอำนาพิเศษจากมาตรา 44 นำมาซึ่งความกังวลว่า จะเกิดผลกระทบต่อสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพราะ คสช. ดูเหมือนจะเอาให้ได้ สั่งข้ามหัวทั้งผังเมือง ทั้ง EIA ไม่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมใดๆ ทั้งสิ้น
Detcharut
อ่าน

ถอดบทเรียน คสช. ใช้มาตรา 44 สร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ ข้ามหัวสิทธิชุมชน กับ เดชรัต สุขกำเนิด

คสช. ใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 44 ออกคำสั่งมากมายหลายเรื่องเพื่อจัดการทรัพยากร โดยตัดสินใจไปก่อนไม่มีส่วนร่วมจากประชาชนในท้องถิ่น เช่น การสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ การยกเว้นผังเมือง และข้ามขั้นตอนอีไอเอ อ.เดชรัต สุขกำเนิด พาชำแหละผลกระทบที่อาจตามมาจากอำนาจพิเศษแบบนี้
Land Act
อ่าน

รู้จัก “ภาษีทรัพย์สิน” ก่อนที่บ้านทุกหลัง ที่ดินทุกแปลง ต้องจ่าย!

ร่าง พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กำหนดให้ต่อไปนี้ ทุกหลังคาเรือนจะต้องจ่ายภาษีให้แก่รัฐ iLaw ชวนมาทำความรู้จักกับภาษีตัวใหม่ ที่ไม่ใหม่เสียที่เดียวที่จะส่งผลสะเทือนในวงกว้าง และเป็นความหวังในการลดความเหลื่อมล้ำของรัฐบาลภายใต้ คสช.