ศาลทยอยยกฟ้อง คดี “ชุมนุมเกินห้าคน” หลัง คสช. ยกเลิกคำสั่งห้าม “กลุ่มคนอยากเลือกตั้ง” ต้องสู้คดีข้อหาอื่นต่อไป
อ่าน

ศาลทยอยยกฟ้อง คดี “ชุมนุมเกินห้าคน” หลัง คสช. ยกเลิกคำสั่งห้าม “กลุ่มคนอยากเลือกตั้ง” ต้องสู้คดีข้อหาอื่นต่อไป

การชุมนุมทางการเมืองซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน กลายเป็นความผิดทางอาญาตั้งแต่ คสช. เข้ายึดอำนาจ ผ่านการออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 7/2557 กำหนดให้ผู้ที่ฝ่าฝืนไปชุมนุมมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 20000 บาทด้วย และเกือบหนึ่งปีต่อมาพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. อาศัยอำนาจตามมาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 กำหนดห้ามการชุมนุมทางการเมืองเช่นเดียวกัน แต่กำหนดโทษทั้งจำคุกและปรับต่ำลงมาครึ่งหนึ่ง รวมทั้งเปิดช่องไว้ด้วยว่าหากเป็นการชุมนุมจะทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจาก คสช. ต่อมาในวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เมื่อมีการออกคำสั่งหัวหน้า คสช.
คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เมื่อใช้ซ้อนกับพ.ร.บ.ชุมนุมฯ เพื่อจำกัดเสรีภาพอย่างเป็นระบบ
อ่าน

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เมื่อใช้ซ้อนกับพ.ร.บ.ชุมนุมฯ เพื่อจำกัดเสรีภาพอย่างเป็นระบบ

“ผู้ใดมั่วสุม  หรือชุมนุมทางการเมือง  ณ  ที่ใด ๆ  ที่มีจํานวนตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป   ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน  หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท  หรือทั้งจําทั้งปรับ  เว้นแต่เป็นการชุมนุม ที่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย”     เป็นความในข้อ 12 ของคำสั่งหัวหน้า คสช.
‘ชาวบ้านดอยเทวดา’ จากปัญหาปากท้องสู่ข้อหาทางการเมือง
อ่าน

‘ชาวบ้านดอยเทวดา’ จากปัญหาปากท้องสู่ข้อหาทางการเมือง

หมู่บ้านดอยเทวดา เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งในตำบลสบบง อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา หมู่บ้านแห่งนี้เริ่มเป็นที่รู้จักในทางสาธารณะเมื่อชาวบ้านในพื้นที่ต้องเข้าสู่กระบวนการต่อสู้คดีที่ยืดเยื้อยาวนานเพราะถูกบริษัทเอกชนฟ้องในข้อหาบุกรุก ทั้งๆที่ที่ดินซึ่งเป็นต้นเหตุของข้อพิพาทเป็นที่ดินที่ชาวบ้านอยู่อาศัยและทำมาหากินมาโดยตลอด ช่วงต้นปี 2561 ชาวบ้านดอยเทวดากลับมาอยู่ในพื้นที่ข่าวอีกครั้ง หลังพวกเขาถูกตั้งข้อหาชุมนุมทางการเมืองตามคำสั่งหัวหน้าคสช.