“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล
อ่าน

“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล

ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ไม่ได้มีแค่ "มาตรา44" ของ คสช. เท่านั้นที่เป็นอำนาจเบ็ดเสร็จ ยังมี "มาตรา17" ของจอมพลสฤษดิ์ จอมพลถนอม มี "มาตรา 27" ของพลเอกเกรียงศักดิ์ และอื่นๆ อีก แต่การใช้อำนาจนี้ส่วนใหญ่ในอดีตจะเป็นการตัดสินลงโทษบุคคล ต่างกับ คสช. ที่ใช้ออกกฎหมายและโยกย้ายตำแหน่ง
วิวัฒนาการของ “การลงโทษในคดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ในรอบ 200 ปี ตามบริบทสังคมการเมือง
อ่าน

วิวัฒนาการของ “การลงโทษในคดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ในรอบ 200 ปี ตามบริบทสังคมการเมือง

ปัจจุบันแทบไม่มีใค…
สุสานวีรชน “ความทรงจำของฟิลิปปินส์ที่มีต่อมาร์กอส”
อ่าน

สุสานวีรชน “ความทรงจำของฟิลิปปินส์ที่มีต่อมาร์กอส”

หลังจากโรดริโก ดูเตอร์เต้ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนปัจจุบันผลักดันให้เคลื่อนย้ายร่างของเฟอร์ดินานด์ มาร์กอส อดีตประธานาธิบดีเผด็จการไปไว้ยังสุสานวีรชน สร้างความไม่พอใจให้แก่ชาวฟิลิปปินส์จำนวนมาก ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น?
ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
สรุปประเด็นตามคำฟ้อง และบรรทัดฐานการแบนหนังที่ได้จากคดี Insects in the Backyard
อ่าน

สรุปประเด็นตามคำฟ้อง และบรรทัดฐานการแบนหนังที่ได้จากคดี Insects in the Backyard

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2553 ธัญญ์วาริน สุขพิสิษฐ์ ยื่นคำขออนุญาตฉายภาพยนตร์เรื่อง Insects in the Backyard และคณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (คณะกรรมการเซ็นเซอร์) ลงมติออกคำสั่งไม่อนุญาต เนื่องจากมีเนื้อหาขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน ธัญญ์วารินจึงยื่นอุทธรณ์ ต่อมาวันที่ 22 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ (บอร์ดชาติ) ซึ่งมีนายไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ประชุมและลงมติไม่อนุญาต 13 เสียง อนุญาต 4 เสียง และงดออกเสียง 3 เสียง  วันที่ 28 มีนาคม 2554 ธัญญ์วาริน จึงยื่นฟ้องคดีต่อศาลปกครองขอให้เพิกถอนคำสั่งดังล่าว โดยอ้างเหตุผลทางกฎหมายและข้อเ
ก่อนจะถึงมทบ.11: ประวัติศาสตร์ย่นย่อว่าด้วยคุกพิเศษในไทย
อ่าน

ก่อนจะถึงมทบ.11: ประวัติศาสตร์ย่นย่อว่าด้วยคุกพิเศษในไทย

การควบคุมตัวนักโทษคดีความมั่นคงในสถานที่พิเศษ เกิดขึ้นหลายครั้งแล้วในประวัติศาสตร์ไทย เช่น ที่ทัณฑสถานเกาะตะรุเตา "แดนพิเศษ" ในเรือนจำบางขวาง หรือเรือนจำพิเศษหลักสี่ ก่อนที่ในยุคปัจจุบันจะประกาศให้ค่ายทหาร มทบ.11 เป็นที่ตั้งของเรือนจำชั่วคราวแขวงถนนนครไชยศรี
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ “ปฏิรูปประวัติศาสตร์ ไม่พอเห็นจะต้องปฏิวัติ”
อ่าน

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ “ปฏิรูปประวัติศาสตร์ ไม่พอเห็นจะต้องปฏิวัติ”

วาระปฏิรูปวิชาประวัติศาสตร์ถูกยกให้เป็นวาระเร่งด่วนในการปฏิรูปการศึกษายุค คสช. นักวิชาการประวัติศาสตร์อย่าง ชาญวิทย์ เกษตรศิริ จะมาเล่าให้ฟังถึงปัญหาแบบเรียน อุปสรรคและความล้มเหลวของวิชาประวัติศาสตร์พร้อมเสนอแนะแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยที่ควรจะเป็น 
การศึกษาไทยมาจากไหน?
อ่าน

การศึกษาไทยมาจากไหน?

การศึกษาอย่างเป็นแบบแผนตะวันตกเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 ความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เกี่ยวข้องกับความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในแต่ละยุคสมัย แล้วเกิดอะไรขึ้นในการศึกษาไทยบ้าง?
มีอะไรใน รัฐ/ธรรมนูญชั่วคราว ฉบับ คณะรัฐประหาร
อ่าน

มีอะไรใน รัฐ/ธรรมนูญชั่วคราว ฉบับ คณะรัฐประหาร

การรัฐประหารและยกเลิกรัฐธรรมนูญ ในอดีตก็จะตามมาด้วยการออกรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวขึ้นใช้เอง iLaw ชวนทุกคนเปรียบเทียบผ่านรธน.ชั่วคราวในอดีตเพื่อมองอนาคต 
ประวัติศาสตร์ศาลทั้งสี่ ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ตามรัฐธรรมนูญไทย
อ่าน

ประวัติศาสตร์ศาลทั้งสี่ ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ตามรัฐธรรมนูญไทย

“ศาล” เป็นสถาบันที่ปรากฏร่องรอยในประวัติศาตร์ไทยและโลกมาอย่างยาวนาน แต่ละศาลมีที่มาและอำนาจหน้าที่อย่างไร ลองสำรวจดูในมุมมองแบบย้อนประวัติศาสตร์