กกต. เพิ่งบอก เข้าชื่อออนไลน์ไม่ได้ 4 หมื่นชื่อตกน้ำทันที ขอประชาชนเร่งระดมเซ็นในกระดาษ
อ่าน

กกต. เพิ่งบอก เข้าชื่อออนไลน์ไม่ได้ 4 หมื่นชื่อตกน้ำทันที ขอประชาชนเร่งระดมเซ็นในกระดาษ

22 สิงหาคม 2566 รองเลขธิการสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ให้คำตอบตัวแทนกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญว่า ไม่สามารถใช้ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ในการเข้าชื่อเสนอคำถามตาม พ.ร.ป.ประชามติฯ ทำให้มากกว่า 4 หมื่นชื่ออาจไม่ถูกนับ   จากข้อจำกัดดังกล่าว ประชาชนไทยผู้มีสิทธิเลือกตั้งเหลือเวลาอีก 3 วัน ในการเข้าชื่อในกระดาษ ขอให้ทุกคนตามหาจุดลงชื่อจากเว็บไซต์ conforall.com ส่งรายชื่อให้ทัน และช่วยกันบอกต่อ จนกว่าเราจะได้รายชื่อแบบกระดาษทะลุ 50,000 รายชื่ออีกครั้ง
“เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” คำถามประชามติโดยประชาชน กระดุมเม็ดแรกสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

“เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” คำถามประชามติโดยประชาชน กระดุมเม็ดแรกสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

13 สิงหาคม 2566 เวลา 15.15 น. บริเวณลานหน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งประกอบด้วยหลายองค์กรที่ผลักดันประเด็นเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ จัดเวทีแถลงการณ์เปิดแคมเปญ  “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น   
เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%
อ่าน

เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ เปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อ ครม. ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น
เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ  ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?
อ่าน

เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?

เส้นทางของ “ประชาชน” ในการเป็นผู้ริเริ่มจัดทำ “ประชามติ” เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นั้นไม่ได้ยุ่งยากสลับซับซ้อนจนเกินไป แต่ระหว่างทางต้องเดินอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้กำกับดูแล ก่อนถึงมือคณะรัฐมนตรีที่จะเป็นผู้พิจารณาในด่านสุดท้าย
ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมประชาชนถึงต้องเสนอ “ประชามติ”
อ่าน

ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมประชาชนถึงต้องเสนอ “ประชามติ”

ประชามติเป็นขั้นแรกของการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ โดยประชาชนสามารถเป็นส่วนหนึ่งได้โดยการเข้าชื่ออย่างน้อย 50,000 คน เพื่อให้คณะรัฐมนตรีมีมติทำประชามติ การเข้าชื่อโดยประชาชนยังเป็นการมีส่วนร่วมในการ “กำหนดคำถามประชามติ” ว่าจะออกมาอย่างไร เพื่อรับรองว่าสสร. ที่มาจากประชาชนจะมีอำนาจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อย่างแท้จริง 
เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล
อ่าน

เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล

พรรคเพื่อไทยจับมือกับพรรคภูมิใจไทยออกแถลงการณ์ร่วมกันว่า จะเร่งแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยการประชุมคณะรัฐมนตรีในวาระแรกจะมีมติให้ทำประชามติขอจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอนการทำประชามติพิเศษเพิ่มเติมขึ้นมา เท่ากับว่าหากจะจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ให้สำเร็จ ต้องทำประชามติอย่างน้อย 3 ครั้ง
50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน
อ่าน

50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน

นี่เป็นครั้งแรกที่ประชาชนจะเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 รายชื่อ เพื่อเสนอคำถามในการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี ไม่มีความชัดเจนว่าการลงลายมือชื่อผ่านระบบออนไลน์สามารถทำได้หรือไม่ จึงจำเป็นที่ต้องพยายามช่วยกันรวบรวมรายชื่อประชาชนให้ได้ครบโดยการลงชื่อจริงๆ ด้วยปากกาในแบบฟอร์มกระดาษก่อนเพื่อความแน่นอน 
2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ
อ่าน

2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ

ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”
อ่าน

2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”

หนทางสู่การมีรัฐธรรมนูญจากประชาชนต้องผ่านประชามติอย่างน้อย 2 ครั้ง ผ่านคูหาเลือกสว.​ และการเลือกตั้งส.ส.ร. ที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประเทศนี้ ซึ่งประเมินได้ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 ปี ถ้าไม่มีเหตุขัดขวางระหว่างทาง
ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

21 ก.พ. 2566 ที่ประชุมวุฒิสภามีมติ “ไม่เห็นด้วย” กับการส่งให้ครม. จัดทำประชามติเพื่อถามประชาชนว่าสมควรจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับหรือไม่ ด้วยคะแนนเสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง เห็นด้วย 12 เสียง งดออกเสียง 13 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง เป็นอันว่าเรื่องดังกล่าวนั้นตกไป