ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง

การที่รัฐสภาส่งเรื่องไปถามศาลรัฐธรรมนูญครั้งที่สามในประเด็นประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ทั้งๆ ที่รัฐธรรมนูญและคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 เขียนชัดเจนแล้ว หากพิจารณาตามข้อกฎหมาย อาจได้รับคำตอบจากศาลว่า “ไม่รับคำร้อง”
ถอดทุกคำ แพทองธารตอบคำถามเรื่องการครอบงำ ผู้ลี้ภัยอุยกูร์และสิทธิเสรีภาพ
อ่าน

ถอดทุกคำ แพทองธารตอบคำถามเรื่องการครอบงำ ผู้ลี้ภัยอุยกูร์และสิทธิเสรีภาพ

นายกรัฐมนตรีแถลงครั้งสุดท้ายในญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจในประเด็นเรื่องการครอบงำทางการเมือง การบังคับส่งผู้ลี้ภัยอุยกูร์และเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านผู้นำฝ่ายค้านมองนายกรัฐมนตรีตอบไม่ตรงคำถามและยังไม่เห็นถึงความชัดเจนของการแก้ไขปัญหาต่างๆ
ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”
อ่าน

ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”

ผลการลงมติส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงแทบไม่แตกโหวตเห็นด้วย เสียงไม่เห็นด้วย มาจากพรรคประชาชนและพรรคเป็นธรรม และ สว. ส่วนน้อยอีก 12 เสียง ด้าน สว. ข้างมากในวุฒิสภา เลือกโหวต “งดออกเสียง”
รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

จากเสียงแตกพ่ายหลากหลายความคิดของสมาชิกรัฐสภา ชวนดูเสียงจากสส.พรรคเพื่อไทย พรรคแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล ว่าทำไมต้องส่งเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ครั้งที่สาม
สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม
อ่าน

สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม

ที่ประชุมร่วมของรัฐสภามีมติส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความรายละเอียดจำนวนครั้งและขั้นตอนการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งที่ผ่านมามีการยื่นคำร้องในทำนองนี้แล้วสามครั้งสะท้อนให้เห็นถึงการใช้กระบวนการทางกฎหมายเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการ “ถ่วงเวลา” กระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ
อ่าน

พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ

พริษฐ์ระบุว่า การส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญนั้นไม่จำเป็น เพราะร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 อยู่แล้ว และไม่เพียงพอที่จะแก้ปัญหาเพราะอุปสรรคที่แท้จริงคือเจตจำนงทางการเมือง ทางออกจึงไม่ได้อยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ แต่อยู่ที่ทำเนียบรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรีต้องแสดงภาวะผู้นำ
ต้องทำประชามติ “ก่อน” vs. เริ่มเดินหน้าได้เลย : รวมวาทะ สส. – สว. ก่อนแก้รัฐธรรมนูญ 13-14 ก.พ. 68
อ่าน

ต้องทำประชามติ “ก่อน” vs. เริ่มเดินหน้าได้เลย : รวมวาทะ สส. – สว. ก่อนแก้รัฐธรรมนูญ 13-14 ก.พ. 68

แม้ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายจะเป็นที่ชัดเจนแล้วว่า รัฐสภาสามารถเดินหน้าแก้รัฐธรรมนูญได้เลยโดยไม่จำเป็นต้องทำประชามติก่อนการพิจารณา แต่ก็มี สส. สว. ที่มองต่าง โดยมีฝ่ายที่อ้างว่าต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก่อน และฝ่ายที่เห็นว่ารัฐสภาเดินหน้าพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลย
สส. ยับยั้งร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ 180 วัน หลัง สว. ทำป่วน แก้กลับใช้เสียงข้างมากสองชั้นกับประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

สส. ยับยั้งร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ 180 วัน หลัง สว. ทำป่วน แก้กลับใช้เสียงข้างมากสองชั้นกับประชามติแก้รัฐธรรมนูญ

18 ธันวาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษษฎร มีมติ “ไม่เห็นชอบ” กับร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่ผ่านการพิจารณาของกรรมาธิการร่วมกัน ซึ่งอิงแนวทางของ สว. กลับไปใช้เสียงข้างมากสองชั้นกับประชามติกรณีแก้รัฐธรรมนูญ ส่งผลให้ต้องยับยั้งร่างกฎหมายไว้ 180 วัน
กมธ. ร่วมฯ ยันใช้เสียงข้างมากสองชั้น หาก สส. จะยันเสียงข้างมากชั้นเดียวอาจต้องรอ 180 วัน
อ่าน

กมธ. ร่วมฯ ยันใช้เสียงข้างมากสองชั้น หาก สส. จะยันเสียงข้างมากชั้นเดียวอาจต้องรอ 180 วัน

20 พฤศจิกายน 2567 กรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (กมธ.ร่วมฯ) มีมติโดยเสียงข้างมากให้คงไว้ซึ่งระบบเสียงข้างมากสองชั้น (Double Majority) ในการหาข้อยุติสำหรับการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
กมธ. พัฒนาการเมืองฯ นัดถกวันนอร์ รับบรรจุวาระแก้รัฐธรรมนูญเร่งเดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

กมธ. พัฒนาการเมืองฯ นัดถกวันนอร์ รับบรรจุวาระแก้รัฐธรรมนูญเร่งเดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กมธ.พัฒนาการเมืองฯ นัดถกประธานรัฐสภา ยืนยันไม่จำเป็นต้องทำประชามติก่อนแก้รัฐธรรมนูญ เสนอให้ประธานรัฐสภารับบรรจุวาระร่างแก้รัฐธรรมนูญ เพื่อเร่งเดินหน้าจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่