ผ่านครึ่งทาง! 82 กิจกรรม 5,600 คน ร่วมเข้าชื่อ “ปลดอาวุธคสช.”
อ่าน

ผ่านครึ่งทาง! 82 กิจกรรม 5,600 คน ร่วมเข้าชื่อ “ปลดอาวุธคสช.”

กิจกรรม #ปลดอาวุธคสช #ทวงคืนสถานการณ์ปกติ เดินทางมาเกินครึ่งทางแล้ว ได้รับเอกสารลงลายมือชื่อพร้อมสำเนาบัตรประชาชนที่สมบูรณ์แล้วอย่างน้อย 5,600 ฉบับ ยังมีรายชื่ออีกจำนวนมากที่จะทยอยสมทบเข้ามา และยังหวังจะได้พบเจอกันทุกคนอีกในช่วงครึ่งทางที่เหลือ  
เลือกตั้ง 62: ของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.

การเลือกตั้งในปี 2562 ภายใต้กติกาที่ คสช. ร่างขึ้น บีบรัดให้พรรคการเมืองพบกับความยากลำบาก เมื่อรวมกับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น กกต., ประกาศ คสช., อำนาจ ม.44 ฯลฯ ก็แทบจะเห็นได้ว่า การเลือกตั้งครั้งนี้ถูกออกแบบเพื่อให้เป็นการเลือกตั้งตามแบบของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.
เสียงคนรุ่นใหม่ต่อ ‘กฎหมายพิเศษ’ ของคสช.
อ่าน

เสียงคนรุ่นใหม่ต่อ ‘กฎหมายพิเศษ’ ของคสช.

ภายใต้บรรดาประกาศและคำสั่งของคสช. มีคนรุ่นใหม่จำนวนหนึ่งสะท้อนออกมาว่า พวกเขาไม่เห็นด้วยกับกฎหมายเหล่านี้ โดยเฉพาะการใช้อำนาจพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย คสช. อย่างเช่น เช่น การเรียกบุคคลเข้ารายงานตัว การห้ามชุมนุมทางการเมือง การควบคุมการทางานของสื่อมวลชน 
อ่าน

คุยกับ “รูน” มัทนา อัจจิมา สมาชิกกลุ่มคนอยากเลือกตั้ง: ทำไมการชุมนุมจึงเป็นหน้าที่

ไอลอว์จัดรายการ "คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช." โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็น "รูน" มัทนา อัจจิมา คือ หนึ่งในผู้ต้องหาคดี MBK39 เพื่อมาพูดคุยถึงที่มาที่ไป ว่าอะไรคือความคิด ความเชื่อและแรงผลักดันที่ทำให้เธอออกไปชุมนุม รวมถึงผลกระทบหลังเป็นผู้ต้องหาทางการเมือง
อ่าน

3 พ.ค. วันเสรีภาพสื่อโลก ส่วนสื่อไทยยังอยู่ภายใต้ประกาศ คสช.

ขณะที่ในระดับสากลกำลังให้ความสำคัญกับเสรีภาพสื่อ ในประเทศไทยกลับยังมีกฎเกณฑ์จำนวนมากที่จำกัดการนำเสนอเนื้อหาของสื่อ ประกาศ คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. ใช้มาหลายปีแล้ว และยังคงใช้ต่อไปเพื่อควบคุมเนื้อหาที่สื่อจะรายงาน แถมยังมีการดำเนินคดีกับสื่ออีกหลายกรณีด้วย
อ่าน

เปรียบเทียบ ประกาศ คปค. 2549 vs ประกาศ คสช. 2557

ประกาศของคสช.หลายฉบับ มีผลกระทบต่ออนาคตการเมืองไทยอย่างมาก เช่น การห้ามชุมนุมทางการเมือง การห้ามพรรคการเมืองทำกิจกรรม คณะรัฐประหารชุดก่อนๆ ก็มีประกาศลักษณะนี้ แต่ลองดูเปรียบเทียบกับการรัฐประหารครั้งก่อน จะเห็นว่า ประกาศเหล่านี้ไม่ได้ใช้อยู่นานนัก
Q&A ตอบทุกคำถาม เข้าชื่อ #ปลดอาวุธคสช. ทำอย่างไร? ทำแล้วยังไง?
อ่าน

Q&A ตอบทุกคำถาม เข้าชื่อ #ปลดอาวุธคสช. ทำอย่างไร? ทำแล้วยังไง?

ระหว่างทางการเข้าชื่อเสนอให้ยกเลิก ประกาศ/คำสั่งของ คสช. รวม 35 ฉบับ มีคำถามเข้ามามากมาย หลายคนสงสัยหลายประเด็นก่อนตัดสินใจว่าจะเข้าร่วมดีหรือไม่ เราจึงรวบรวมคำถามหลักๆ ที่พบบ่อยๆ มาลองอธิบายแบบสั้นๆ ไว้ที่นี่ที่เดียว หวังว่าจะตอบทุกข้อสงสัยได้
รอบคอบแค่ไหน! เมื่อประกาศ/คำสั่ง ของ คสช. ต้องแก้คำผิดไปแล้ว 9 ครั้ง แก้เนื้อหาไปแล้ว 24 ครั้ง
อ่าน

รอบคอบแค่ไหน! เมื่อประกาศ/คำสั่ง ของ คสช. ต้องแก้คำผิดไปแล้ว 9 ครั้ง แก้เนื้อหาไปแล้ว 24 ครั้ง

ตั้งแต่หลังการรัฐประหาร 2557 ที่ผ่านมา คสช. ต้องแก้ไขคำผิดในคำสั่งที่ออกมาแล้วไม่น้อยกว่า 9 ครั้ง แบ่งเป็น แก้ไขคำสั่ง คสช. 4 ครั้ง และคำสั่งหัวหน้า คสช. 5 ครั้ง วิธีการแก้ไขคำผิดในคำสั่ง คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. คือ การประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อแก้ไขคำผิด โดยไม่ได้ออกเป็นคำสั่งฉบับใหม่ ไม่ได้ผ่านการลงนามของหัวหน้า คสช. ดังนี้
คสช. ใช้ ม.44 แก้ พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ระบุปลดล็อคเมื่อประกาศกฎหมายลูก ส.ว.-ส.ส.
อ่าน

คสช. ใช้ ม.44 แก้ พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ระบุปลดล็อคเมื่อประกาศกฎหมายลูก ส.ว.-ส.ส.

หัวหน้าคสช. ออก คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 53/2560 แก้ไขพ.ร.ป.ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2560 เพื่อเพิ่มเติมเงื่อนไขกับสมาชิกพรรคการเมืองเก่าให้ต้องดำเนินการแจ้งแสดงตัวเป็นสมาชิกต่อหัวหน้าพรรค และขยายกรอบเวลาให้พรรคการเมืองดำเนินงานธุรการโดยการต้องขออนุญาตจาก คสช. และกำหนดเงื่อนไขปลดล็อคพรรคการเมือง เมื่อพ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งส.ว. และการเลือกตั้งส.ส. ประกาศใช้
“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.