3 เหตุผลทำไมต้องนิรโทษกรรมประชาชน
อ่าน

3 เหตุผลทำไมต้องนิรโทษกรรมประชาชน

นิรโทษกรรมประชาชนคือความจำเป็นของสังคมไทย โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่คดีทางการเมืองจากการใช้เสรีภาพในการแสดงออกกำลังเดินหน้าส่งประชาชนเข้าเรือนจำ
เพื่อไทย-ก้าวไกลเห็นพ้องแก้ปัญหาคดีการเมือง ธงชัยย้ำเพื่อไทยต้องทำมากกว่านี้
อ่าน

เพื่อไทย-ก้าวไกลเห็นพ้องแก้ปัญหาคดีการเมือง ธงชัยย้ำเพื่อไทยต้องทำมากกว่านี้

วันที่ 24 มกราคม 2567 เวลา 19.00 น. ที่สมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย (Foreign Correspondent’s Club of Thailand: FCCT) มีการจัดงาน งานเสวนา “Prong-dong”: Political amnesty in a new era of Thai Politics” เพื่อพูดคุยถึงมุมมองเรื่องความ “ปรองดอง” ในช่วงความขัดแย้งทางการเมืองตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และการออกกฎหมายนิรโทษกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาทางการเมือง
Q&A ตอบคำถามข้อสงสัย ทำไมต้องเสนอร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน
อ่าน

Q&A ตอบคำถามข้อสงสัย ทำไมต้องเสนอร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน

ก่อนคิกออฟแคมเปญล่ารายชื่อเสนอร่างพ.ร.บ. “นิรโทษกรรมประชาชน” ชวนอ่านคำถามพบบ่อยเกี่ยวกับการเสนอกฎหมายฉบับนี้
2567 wish list : สี่ประเด็นชวนจับตาในปี 2567
อ่าน

2567 wish list : สี่ประเด็นชวนจับตาในปี 2567

หลายประเด็นทางการเมืองที่มีบทสนทนาหรือมีความเคลื่อนไหวในปี 2566 แล้วยังไม่ได้สำเร็จลุล่วง ไม่ว่าจะเป็นประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ การนิรโทษกรรมประชาชน การแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เพื่อสมรสเท่าเทียม ขณะเดียวกันปี 2567 ก็จะมีความเปลี่ยนแปลงหนึ่งที่น่าจับตา คือ สว. ชุดใหม่ ชวนจับตาสี่ประเด็นนี้กันต่อในปี 2567
เปรียบเทียบร่างนิรโทษกรรมจาก 14 ตุลาสู่การชุมนุมเยาวชน’63
อ่าน

เปรียบเทียบร่างนิรโทษกรรมจาก 14 ตุลาสู่การชุมนุมเยาวชน’63

ชวนดูเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ที่เสนอในปี 2566 ซึ่งมุ่งหมายจะให้ครอบคลุมการดำเนินคดีความทางการเมืองต่อประชาชนที่ยืดเยื้อยาวมาตั้งแต่ปี 2549 กับกฎหมายนิรโทษกรรมผู้ชุมนุมทางการเมืองสามฉบับในอดีต
รวมวาทะนักการเมืองต่อประเด็นนิรโทษกรรม
อ่าน

รวมวาทะนักการเมืองต่อประเด็นนิรโทษกรรม

ประเด็นการออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้กับผู้ที่รับผลกระทบจากความขัดแย้งทางการเมืองตั้งแต่การรัฐประหาร 2549 ได้รับความสนใจจากทุกฝ่าย ที่ต่างก็ออกมาพูดหลายความเห็นสนับสนุนการออกกฎหมาย หรือสนับสนุนแบบมีเงื่อนไข
เทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม พ.ศ. 2556-2566
อ่าน

เทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม พ.ศ. 2556-2566

ร่างกฎหมายนิรโทษกรรมในรอบสิบปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2556-2566 ที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากคณะรัฐประหารมีอย่างน้อยสี่ร่าง ซึ่งมีความแตกต่างกันในรายละเอียดสำคัญ
หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม
อ่าน

หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 นพ.เหวง โตจิราการ หรือหมอเหวง แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ กล่าวในเวทีเสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง” โดยสรุปคือ คดีการเมืองที่เกิดขึ้นมาเป็นเรื่องของที่รัฐมองประชาชนเป็นฝ่ายตรงกันข้ามหรือเป็นศัตรู การใช้กฎหมายหรือคดีความเพื่อปราบปรามผู้ที่รัฐนั้นมองว่าเป็นศัตรูเช่นกรณีการชุมนุมของนปช.เมื่อปี 2553 และกล่าวโดยตรงถึงพรรครัฐบาลโดยเฉพาะอย่า
อดีตพันธมิตรฯ มองต้องนิรโทษฯ คลี่คลาย ม.112 และเขียนรธน.ใหม่เพื่อออกจากวังวนความขัดแย้ง
อ่าน

อดีตพันธมิตรฯ มองต้องนิรโทษฯ คลี่คลาย ม.112 และเขียนรธน.ใหม่เพื่อออกจากวังวนความขัดแย้ง

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 อมร อมรรัตนานนท์ อดีตแนวร่วมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กล่าวในเวทีเสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง” โดยสรุปว่า เวลานี้เป็นเวลาที่เหมาะสมในการพูดคุยเพื่อหาแนวทางให้ประเทศก้าวเดินไปข้างหน้าได้ การนิรโทษกรรมมีความจำเป็นในการที่จะก้าวพ้นความขัดแย้งและทำให้สังคมไทยอยู่ร่วมกันได้ ที่ผ่านมามีข้