สุดสัปดาห์สุดท้ายของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย) – Presumption of Innocence”
อ่าน

สุดสัปดาห์สุดท้ายของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย) – Presumption of Innocence”

ชวนทุกคนมาร่วมพูดคุยเพื่อส่งเสียงให้เรื่องราวที่ถูก “ซ่อน” ไม่ “หาย” ไปจากสังคมผ่านสองวงพูดคุยคือ เส้นทางนิรโทษกรรมทางการเมืองและคดีมาตรา 112 และชีวิตคนถูก “ซ่อน” และการต่อสู้เพื่อไม่ “หาย” ไปจากสังคม
จับตา! สภานัดรับรองรายงาน กมธ. นิรโทษกรรมต่อ หลังรองประธานสภาชิงปิดประชุมยืดเวลา
อ่าน

จับตา! สภานัดรับรองรายงาน กมธ. นิรโทษกรรมต่อ หลังรองประธานสภาชิงปิดประชุมยืดเวลา

24 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร นัดลงมติรับรองรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม (กมธ. นิรโทษกรรม) อีกครั้ง หลังพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาคนที่หนึ่งในฐานะประธานในที่ประชุมสั่งปิดประชุมระหว่างที่กำลังอภิปรายในการประชุมเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2567
“รายงานฟังความเห็นร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมปชช.” ส่วนใหญ่เห็นควรนิรโทษกรรมลดความขัดแย้ง สถาบันพระปกเกล้าฯ เห็นต่างค้านทุกประเด็น  
อ่าน

“รายงานฟังความเห็นร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมปชช.” ส่วนใหญ่เห็นควรนิรโทษกรรมลดความขัดแย้ง สถาบันพระปกเกล้าฯ เห็นต่างค้านทุกประเด็น  

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปิดรับฟังความคิดเห็นร่างนิรโทษกรรมประชาชน ผู้ที่เห็นด้วยมองว่า เกือบ 20 ปีที่ผ่านมามีการดำเนินคดีต่อผู้ใช้เสรีภาพ มีการใช้กฎหมายอย่างไม่เป็นธรรมและกลั่นแกล้งทางการเมืองจึงเห็นควรให้มีการนิรโทษกรรม ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยมองว่า ผู้ที่กระทำความผิดควรได้รับผลจากการกระทำ
ยืดเวลาออกไปอีก! พิเชษฐ์ รองประธานสภา ชิงปิดประชุมนัดรับรองรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม
อ่าน

ยืดเวลาออกไปอีก! พิเชษฐ์ รองประธานสภา ชิงปิดประชุมนัดรับรองรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม

17 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีวาระพิจารณารับรองรายงานกมธ.นิรโทษกรรม แต่การประชุมครั้งนี้ยังไม่แล้วเสร็จ เนื่องจากพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งซึ่งเป็นประธานในที่ประชุมสั่งปิดประชุมระหว่างที่มีการถกเถียงกันว่าสมควรให้กรรมาธิการชี้แจงต่อหรือไม่
ชูวัสมองทุกฝ่ายต่างปรารถนาดี ยันต้องรวมม. 112 ในกฎหมายนิรโทษกรรม
อ่าน

ชูวัสมองทุกฝ่ายต่างปรารถนาดี ยันต้องรวมม. 112 ในกฎหมายนิรโทษกรรม

โอกาสในการออกกฎหมายนิรโทษกรรมที่รวมมาตรา 112 ยังมีอยู่ ย้ำว่า หากการนิรโทษกรรมไม่รวมคดีมาตรา 112 จะกลายเป็นกระบวนการต่อเนื่องของความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นมาในสองทศวรรษนับแต่การรัฐประหาร 2549
กมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภา ใส่เกียร์ว่าง ม.112 “ไม่สามารถหาข้อสรุปได้” แต่ 18 เสียงยืนยันรวม ม.112 ได้
อ่าน

กมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภา ใส่เกียร์ว่าง ม.112 “ไม่สามารถหาข้อสรุปได้” แต่ 18 เสียงยืนยันรวม ม.112 ได้

คณะกรรมาธิการนิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภาผู้แทนราษฎร โดยเห็นว่าความผิดตามป.อาญา ม. 110 และ ม. 112 เป็นคดีที่มีความอ่อนไหว ไม่สามารถหาข้อสรุปเป็นมติของคณะกรรมาธิการวิสามัญได้ แต่ความเห็นแตกเป็นสามแนวทาง คือ 1. ไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหว, 2. เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหวโดยมีเงื่อนไข และ 3. เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหวโดยไม่มีเงื่อนไข
หลังประชุม 6 เดือนเต็มกมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปประเด็นคดี 112 ว่า “ยังไม่สรุป”
อ่าน

หลังประชุม 6 เดือนเต็มกมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปประเด็นคดี 112 ว่า “ยังไม่สรุป”

หลังทำงานไป 6 เดือนเต็ม เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2567 นิกร จำนง เลขานุการของกมธ.นิรโทษกรรม แถลงสรุปผลการทำงานว่า สำหรับคดีมาตรา112 นั้น ”เป็นประเด็นที่มีความอ่อนไหว“
เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน ยื่นหนังสือถึง กมธ.นิรโทษฯ ขอให้มีมตินิรโทษทุกคดี รวม 112
อ่าน

เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน ยื่นหนังสือถึง กมธ.นิรโทษฯ ขอให้มีมตินิรโทษทุกคดี รวม 112

วันที่ 18 กรกฎาคม 2567 เวลา 11.30 น. เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชนและตัวแทนประชาชนผู้ถูกดำเนินคดีมาตรา 112 เดินทางมายังรัฐสภา (เกียกกาย) เพื่อเข้ายื่นหนังสือต่อตัวแทนคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการตราพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม โดยมีจุดประสงค์ในการเรียกร้องให้กมธ.นิรโทษกรรม มีมติ “นิรโทษกรรมทุกคดีรวมมาตรา 112”
เครือข่ายนิรโทษกรรมฯ ย้ำนิรโทษกรรมต้องรวมคดีม.112 
อ่าน

เครือข่ายนิรโทษกรรมฯ ย้ำนิรโทษกรรมต้องรวมคดีม.112 

เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชนเข้าเสนอข้อเรียกร้องในสามประเด็นหลักแบ่งเป็นการนิรโทษกรรมทุกคดีรวมมาตรา 112 สิทธิการประกันตัวและคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังคดีการเมือง ย้ำว่า การผ่านกฎหมายนิรโทษกรรมจะต้องรวมคดีตามมาตรา 112
จากบีบแตรสู่ข้อหาเกินจริง ขอศาลเคารพสิทธิประกันตัว ไม่ตั้งธงต่อจำเลยคดีการเมือง
อ่าน

จากบีบแตรสู่ข้อหาเกินจริง ขอศาลเคารพสิทธิประกันตัว ไม่ตั้งธงต่อจำเลยคดีการเมือง

กรณีขบวนเสด็จของตะวันและแฟรงค์ถูก ‘ขยาย’ขึ้นและต่อเนื่องถึงตำรวจที่ตั้งข้อหาหนักเกินจริง และซ้ำด้วยศาลที่ไม่ให้ประกันตัว ผู้ร่วมเสวนาเรียกร้องต่อผู้ที่อยู่ในกระบวนการยุติธรรมและผู้บริหารประเทศให้เคารพสิทธิการประกันตัว