ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในการใช้ชีวิตของประชาชน
92% ไม่เห็นด้วยเรียก ‘กำลังพลสำรอง’ หวั่นเปิดช่องคอร์รัปชั่น
อ่าน

92% ไม่เห็นด้วยเรียก ‘กำลังพลสำรอง’ หวั่นเปิดช่องคอร์รัปชั่น

เปิดผลโหวตเว็บประชามติ 92 % ไม่เห็นด้วย การเรียกกำลังพลสำรอง เพราะกำลังพลปัจจุบันมีจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อนายจ้างที่ยังต้องจ่ายเงินเดือน เพิ่มภาระทางครอบครัวต่อคนทำงาน และอาจเปิดช่องให้มีการคอร์รัปชั่น แนะควรเพิ่มประสิทธิกองทัพด้วยเทคโนโลยีมากกว่าปริมาณกำลังพล 
รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง
อ่าน

รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง

สนช.ร่าง พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง โดยเนื้อหาให้ทหารกองหนุน กลับมาฝึกวิชาทหารอีกครั้งพื่อการเตรียมความพร้อมในกิจการของกระทรวงกลาโหม โดยหากฝ่าฝืนไม่เข้ารับราชการทหารมีโทษสูงสุดติดคุกสี่ปี ในส่วนของนายจ้างหากไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างซึ่งต้องรับราชการทหารในวันลามีโทษปรับสองหมื่นบาท
คำถามต่อ “เรือนจำในค่ายทหาร” กับ “ความจำเป็นด้านความมั่นคง”
อ่าน

คำถามต่อ “เรือนจำในค่ายทหาร” กับ “ความจำเป็นด้านความมั่นคง”

เรือนจำพิเศษเป็นสถานที่ไว้ขังผู้ต้องหาที่ยังไม่ถูกตัดสินจากศาลทั่วไป เดือนก.ย.2558 มีการตั้งเรือนจำพิเศษที่ มทบ.11 ถึงวันที่ 9 พ.ย.2558 มีผู้ต้องหาเสียชีวิตจากที่นั่น 2 คน ชวนตั้งคำถามถึงความไม่ชอบมาพากลในการนำผู้ต้องหาไปไว้ในการดูแลของทหาร
บทเรียนจากกวางจู “ประวัติศาสตร์ที่ไม่ถูกจดจำจะถูกซ้ำรอยเดิม”
อ่าน

บทเรียนจากกวางจู “ประวัติศาสตร์ที่ไม่ถูกจดจำจะถูกซ้ำรอยเดิม”

เรื่องราวของขบวนการประชาธิปไตยที่กวางจูและเกาหลีใต้ไม่เป็นที่รับรู้มากนักในสังคมไทย ช่วงเวลาประมาณสองสัปดาห์ที่กวางจูทำให้ผู้เขียนเห็นภาพเปรียบเทียบบางอย่างของเกาหลีใต้กับประเทศไทย จึงขอนำประสบการณ์จากการเดินทางครั้งนี้มาแบ่งปัน
ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”
อ่าน

ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”

ชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หลังรัฐประหาร 2557 ชาวชุมชนต้องต่อสู้แย่งพื้นที่ทำกินกับนายทุน โดยการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ชาวบ้านสงสัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่อาจร่วมมือกับนายทุนเพื่อขับไล่พวกเขา
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
เกณฑ์การกักตัวตามกฎอัยการศึก 7 วันนับอย่างไร?
อ่าน

เกณฑ์การกักตัวตามกฎอัยการศึก 7 วันนับอย่างไร?

ในสถานการณ์ไม่ปกติ ชวนมาดูเงื่อนไขการควบคุมตัว 7 วันตามกฎอัยการศึก และวิธีการนับ 7 วัน นับอย่างไร เมื่อไรจะได้กลับบ้าน