#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว     
รับมือโควิดในฝรั่งเศส: ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินแล้ว ชุมนุมประท้วงทำได้
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินแล้ว ชุมนุมประท้วงทำได้

14 กรกฎาคม 2563 ประเทศฝรั่งเศสได้ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข และผ่อนปรนให้เปิดสนามกีฬา โรงมหรสพ ฯลฯ รวมถึงให้ชุมนุมประท้วงได้ แต่ยังคงมาตรการรัฐบางอย่างเพื่อป้องกันโรคระบาดอยู่ เช่น ให้สวมใส่หน้ากากอนามัย ปิดผับ และห้ามฝึกกีฬาต่อสู้
กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย
อ่าน

ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย

การโฆษณาประชาสัมพันธ์โดยปกติแล้วไม่ใช่เรื่องผิดบาป เพียงแต่มีเส้นที่ยังต้องกำกับกันอยู่บ้างเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคสื่อไม่ให้ถูกครอบงำ หรือชักจูงให้หลงเชื่อจนเกิดผลเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาจากภาครัฐที่นำเม็ดเงินภาษีประชาชนไปใช้ ยิ่งต้องมีการกำกับอย่างเคร่งครัด
เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
รับมือโควิดในกรีซ:  เยียวยา 800 ยูโร แม้ยังไม่ฟื้นจากวิกฤติเศรษฐกิจเรื้อรัง
อ่าน

รับมือโควิดในกรีซ: เยียวยา 800 ยูโร แม้ยังไม่ฟื้นจากวิกฤติเศรษฐกิจเรื้อรัง

ดินแดนแห่งปรัชญาเผชิญหน้าวิกฤติเศรษฐกิจมาตั้งแต่ปี 2009 และต้องมาเจอซ้ำช่วงโควิด แม้จะอยู่ใกล้อิตาลีแต่กรีซมีดีที่ติดตามสถานการณ์และออกตัวก่อนประเทศเพื่อนบ้าน จนนำไปสู่คำสั่งห้ามออกจากบ้านถ้าไม่มีเหตุจำเป็น และแม้ประเทศจะยังบอบช้ำรัฐบาลก็ยังให้เงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม

ประเทศเนเธอร์แลนด์เลือกใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ covid-19 ด้วยวิธีการผ่อนคลาย เพราะเชื่อว่าประชาชนของพวกเขามีความรับผิดชอบเพียงพอจนรัฐไม่ต้องชี้นิ้วสั่ง รวมทั้งเชื่อว่าการควบคุมไวรัสแบบผ่อนคลายจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไม่พังทลาย ที่น่าสนใจคือมาตรการเยียวยาของที่นี่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พลเมืองดัชต์แต่รวมถึงผู้อพยพหรือชาวต่างชาติที่ทำงานเสียภาษีให้รัฐด้วย
รับมือโควิดในสวีเดน: How chilling Sweden handle this situation?
อ่าน

รับมือโควิดในสวีเดน: How chilling Sweden handle this situation?

นักศึกษาปริญญาโทในสวีเดนเล่าประสบการณ์ความตื่นตัวของผู้คนและรัฐบาลสวีเดนในการรับมือโควิด 19 ในสังคมที่มีสิทธิเสรีภาพสูงมาก การสั่งให้คนกักตัว 14 วันเป็นการละเมิดสิทธิที่รุนแรง จึงใช้วิธีขอความร่วมมือแทน ด้านนายกฯ ออกแถลงการณ์ให้ประชาชนเตรียมใจรับความสูญเสีย