ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.
อ่าน

ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.

แม้ว่า Rahaf Mohammed Alqunun สาวชาวซาอุดิอาระเบีย จะมีประเทศที่สามรับเธอให้เข้าไปลี้ภัยแล้ว แต่เรื่องของเธอช่วยทำให้สังคมไทยได้ทบทวนบทบาทของรัฐที่มีต่อผู้ลี้ภัยว่า ต้องดำเนินการตามแนวทางหลักสิทธิมนุษยชน หรือยึดตามหลักต่างตอบแทนโดยส่งผู้ลี้ภัยกลับตามคำร้องขอของมิตรประเทศ
2475/2560 เป็น “เลขคดี” ที่ทายาทคณะราษฎร ตกเป็นนักโทษข้อหา 112
อ่าน

2475/2560 เป็น “เลขคดี” ที่ทายาทคณะราษฎร ตกเป็นนักโทษข้อหา 112

  เอกฤทธิ์ เป็นนักโทษที่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกจากการโพสต์รูปภาพพร้อมข้อความประกอบพระบรมฉายาลักษณ์บนเฟซบุ๊ก อันเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามมาตรา 112 และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ  
“ซัลมาน” : คำพิพากษาและการลาจาก
อ่าน

“ซัลมาน” : คำพิพากษาและการลาจาก

  ภาพลักษณ์ของนักโทษคดี112 ที่คนส่วนหนึ่งในสังคมมักจินตนาการถึงคือ “ฮาร์ดคอร์เสื้อแดง” หรือ “ขบวนล้มเจ้า” ภาพลักษณ์เช่นนี้ทำให้หลายคนเลือกมองประเด็นในคดีมาตรา 112 ไปตามแนวความคิดของฝักฝ่ายการเมืองที่ตนเองสังกัด ทั้งที่นักโทษคดี112 ที่กล้ายืนยันว่ารักและเทิดทูนพระมหากษัตริย์ และไม่ใช่คนที่สนใจหรือเคลื่อนไหวทางการเมือง ไม่ได้มีแค่ “อากง” เพียงคนเดียว