ตร.ขุดคำสั่งหัวหน้าคสช. 3/58 แจ้งฅนรักษ์บ้านเกิดด่านขุนทดที่ชุมนุมเรียกร้องชะลอเหมืองโปแตซ
อ่าน

ตร.ขุดคำสั่งหัวหน้าคสช. 3/58 แจ้งฅนรักษ์บ้านเกิดด่านขุนทดที่ชุมนุมเรียกร้องชะลอเหมืองโปแตซ

กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิดด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมาชุมนุมที่กระทรวงอุตสาหกรรมเรียกร้องให้มีการสั่งการให้เหมืองแร่โปแตซบางจากหยุดหรือชะลอการขุดเจาะอุโมงค์ใหม่และกลับไปตรวจสอบผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินโครงการ
ศาลยกฟ้องเก็ทและใบปอ เป็นผู้จัดชุมนุม ปี 65 ที่แยกอโศก เหตุหลักฐานโจทก์ไม่มีน้ำหนักเพียงพอ
อ่าน

ศาลยกฟ้องเก็ทและใบปอ เป็นผู้จัดชุมนุม ปี 65 ที่แยกอโศก เหตุหลักฐานโจทก์ไม่มีน้ำหนักเพียงพอ

ศาลแขวงพระนครใต้นัด  เก็ท-โสภณ สุรฤทธิ์ธำรง และใบปอ-ณัฐนิช ดวงมุสิทธิ์ ฟังคำพิพากษาในข้อหาไม่แจ้งการชุมนุมสาธารณและใช้เครื่องขยายเสียงโดยไม่ได้อนุญาตจากการร่วมกิจกรรม “WHAT HAPPENED IN THAILAND” ที่แยกอโศก ระหว่างการประชุม APEC2022 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน  2565  โดยพิพากษายกฟ้องทั้งสองข้อหา
“เขาจะเอาเราให้ตายเลยพี่ เขาขู่ผมว่าถ้าไม่หยุดมึงตายนะไอ้อ้วน” เสียงจากแป๊ะ สมรภูมิดินแดง
อ่าน

“เขาจะเอาเราให้ตายเลยพี่ เขาขู่ผมว่าถ้าไม่หยุดมึงตายนะไอ้อ้วน” เสียงจากแป๊ะ สมรภูมิดินแดง

“แป๊ะ” คือหนึ่งในผู้ชุมนุมที่ถูกจับกุมจากการสลายการชุมนุมในช่วงค่ำวันที่ 22 สิงหาคม 2564 ทว่าค่ำคืนในห้องขังที่เขาพบมิตรภาพจากผู้ชุมนุมที่ประสบชะตากรรมเดียวกันและเป็นเวลาที่เขาต้องทนกับความเจ็บจากกระสุนยางนับสิบนัดที่ถูกกระหน่ำใส่ร่างของเขาที่มีเพียงสองมือเปล่าจากบุคคลที่เรียกตัวเองว่า “ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์” ซึ่ง “แป๊ะ”ระบุว่า หากเขามีโอกาสได้พบกับคนเหล่านั้น เขาก็หวังจะโอภาปราศรัยกับคนกลุ่มนั้น…ด้วยกระสุนยาง
‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ ย้อนเหตุการณ์บุกรวบรถเครือข่ายนนท์ฯ หน้าสตช. หลัง #ม็อบ10สิงหา
อ่าน

‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ ย้อนเหตุการณ์บุกรวบรถเครือข่ายนนท์ฯ หน้าสตช. หลัง #ม็อบ10สิงหา

คำบอกเล่าของ ‘เฟรม’ ‘ลีโอ’ และ ‘เปิ้ล’ สมาชิกเครือข่ายคนรุ่นใหม่นนทบุรี จากเหตุการณ์บุกรวบรถน้ำเครือข่ายนนทบุรี หลังกลับจาก #ม็อบ10สิงหา คาร์ม็อบใหญ่ไล่ทรราช บริเวณแยกราชประสงค์
สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”
อ่าน

สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”

21 สิงหาคม 2564 Nitihub จัดงานเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)” ถกเถียงเรื่องเส้นแบ่งระหว่างความรุนแรง-สันติวิธี, หลักการสลายการชุมนุม ไปจนถึงพลวัตของเส้นสันติวิธีและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ถอดประสบการณ์ตำรวจคุมม็อบ ตำรวจอยู่ใต้รัฐบาล จะกู้เกียรติคืนได้ก็ต่อเมื่อมีรัฐบาลจากประชาชน
อ่าน

ถอดประสบการณ์ตำรวจคุมม็อบ ตำรวจอยู่ใต้รัฐบาล จะกู้เกียรติคืนได้ก็ต่อเมื่อมีรัฐบาลจากประชาชน

18 กรกฎาคม 2564 เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ลาออก, ลดงบสถาบันกษัตริย์และกองทัพเพื่อมารับมือกับโควิด 19 และจัดหาวัคซีนป้องกันโควิด 19 ชนิด mRNA การชุมนุมดังกล่าวเกิดขึ้นให้หลังการปะทะที่กระทรวงสาธารณสุข ผู้จัดการชุมนุมจึงวางทีมดูแลผู้ชุมนุมและป้องกันไม่ให้มีการปะทะที่หน้าแนวตำรวจ อย่างไรก็ตามเมื่อผู้ชุมนุมยืนยันที่จะเดินขบวนผ่านถนนราชดำเนินกลางเพื่อไปทำเนียบรัฐบาล ตำรวจก็เริ่มใช้กำลังสลายการชุมนุมด้วยการฉีดน้ำ, แก๊สน้ำตาและกระสุนยาง ทั้งที่ไม่มีกฎหมายใดห้ามการชุมนุมบริเวณทำเนียบรัฐบาล
แก๊สน้ำตาไม่เลือกเป้าหมาย ถอดเหตุการณ์ความรุนแรง #ม็อบ18กรกฎา
อ่าน

แก๊สน้ำตาไม่เลือกเป้าหมาย ถอดเหตุการณ์ความรุนแรง #ม็อบ18กรกฎา

ถอดเหตุการณ์ความรุนแรง การชุมนุมวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 ผู้ชุมนุมเดินจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยไปยังทำเนียบรัฐบาล
ชุมนุม 64 : ความท้าทายและความจำเป็นภายใต้โควิด19
อ่าน

ชุมนุม 64 : ความท้าทายและความจำเป็นภายใต้โควิด19

นับตั้งแต่ต้นปีจนถึงวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 แม้ประเทศไทยจะอยู่ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 อย่างต่อเนื่อง และมีประกาศห้ามทำกิจกรรมรวมตัวหลายฉบับใช้ซ้ำซ้อนกันเปลี่ยนแปลงไปมา แต่กระแสความไม่พอใจต่อรัฐบาลชุดปัจจุบันก็ยังทำให้มีการชุมนุมเกิดขึ้นทั่วประเทศแล้วไม่น้อยกว่า 766 ครั้ง 
ที่เอกชน ที่ทำงาน, บ้าน, ที่พัก จัดกิจกรรมได้ ไม่อยู่ใต้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
อ่าน

ที่เอกชน ที่ทำงาน, บ้าน, ที่พัก จัดกิจกรรมได้ ไม่อยู่ใต้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

ที่เอกชนหรือที่ดินของเอกชนไม่มีลักษณะเป็นที่สาธารณะ ถ้าหากจัดกิจกรรมรวมตัวกันแสดงออกในที่ดินของเอกชน จะไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของพ.ร.บ.ชุมนุมฯ แต่อยู่ใต้อำนาจของเจ้าของที่ดินนั้นๆ ว่า อนุญาตให้ใช้พื้นที่รวมตัวกันได้หรือไม่