ชุมนุม 64 เล่าเรื่องบาดแผลจากสายตาของทีมแพทย์อาสา
อ่าน

ชุมนุม 64 เล่าเรื่องบาดแผลจากสายตาของทีมแพทย์อาสา

#ตำรวจกระทืบหมอ เป็นแฮชแท็กที่ผู้ใช้ทวิตเตอร์ทวีตถึงมากที่สุดในคืนวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564 หลังจากที่หนึ่งในอาสาสมัครทีม DNA บุคลากรทางการแพทย์และอาสาสมัครถูกตำรวจทำร้ายร่างกาย นับแต่นั้นสังคมเริ่มสนใจติดตามการทำงานและความปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์และพยาบาลอาสาในพื้นที่ชุมนุมมากขึ้น   รสิตา โรจนกุลกร ทีม DNA เล่าว่า การทำหน้าที่อาสาพยาบาลเริ่มจากเข้ามาในที่ชุมนุมและเห็นว่า ทำไมไม่มีทีมแพทย์เลยจึงชวนกับพี่สาวสองคนไปซื้อกระเป๋าและอุปกรณ์ทางการแพทย์ มาในที
“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง
อ่าน

“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง

ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดงถูกขนานนามโดยใครหลายคนว่าเป็นสมรภูมิ พื้นที่ปะทะและประลองกำลังกันระหว่าง “ผู้ชุมนุมต่อต้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา” กับ “ตำรวจชุดคุมฝูงชน” บทสรุปของการปะทะเกือบทุกครั้งจบลงด้วยการสลายการชุมนุมโดยตำรวจ เริ่มต้นด้วยการเขย่าเส้นความอดทนของตำรวจด้วยการใช้ประทัดยักษ์ พลุ ระเบิดเพลิง หรือขวดแก้วตามแต่จะหยิบฉวยได้ปาใส่แนวคอนเทนเนอร์หลายครั้ง ด้วยแนวสิ่งกีดขวางและระยะห่างของตำรวจก็ยากที่จะทะลุทะลวงอุปกรณ์ป้องกันของฝ่ายรัฐที่มีทั้งโล่ ชุดเกราะ แต่ทุกครั้งจบด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยางและอุปกรณ์อื่นๆ ในความครอบครองของเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนที่ถูกประเคนคืนกลับมาในฐานะ “กา
นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?
อ่าน

นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?

การรวมตัวกันของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ส” บริเวณแยกดินแดงได้ปรากฎภาพการปะทะกันระหว่างเยาวชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมฝูงชนครั้งแล้วครั้งเล่า โดยมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากกระสุนยาง แก๊สน้ำตา ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นต่างก็ได้รับผลกระทบทั้งในแง่ความปลอดภัยและการใช้ชีวิตประจำวัน จนภาพ “ความรุนแรง” กลายเป็นภาพจำของการชุมนุมในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่ของผู้สังเกตการณ์สิ่งที่ได้พบเห็นไม่ได้มีเพียงความรุนแรง แต่ ณ สมรภูมิดินแดง ยังมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งร้านขายของ มีเต็นท์ปฐมพยาบาล บางวันก็มีศิลปินมาเล่นดนตรีสร้างสีสันให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม มีหลายมุมที่ไม่ต่างจากการพื้นที่ชุมนุมอื่นๆมากนัก
ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64
อ่าน

ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64

หากนับย้อนไปถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2564 จะพบว่า เกิดเหตุการณ์ปะทะกันระหว่างตำรวจกับผู้ชุมนุมมาแล้วถึงสี่
อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก  งานนี้ทั้งสองจะสะท้อนมุมมองของภาคประชาชนต่อปัญหาการศึกษาและทางเลือกทางการศึกษาของประเทศไทย