เปิดร่างแก้ไขกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เพิ่มระดับความคุ้มครองสิทธิ-สวัสดิการแรงงาน
อ่าน

เปิดร่างแก้ไขกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เพิ่มระดับความคุ้มครองสิทธิ-สวัสดิการแรงงาน

พรรคก้าวไกลเสนอแก้กฎหมายคุ้มครองแรงงาน เพิ่มระดับความคุ้มครองสิทธิ-สวัสดิการแรงงาน เช่น ขยายวันลาคลอดจาก 98 วันเป็น 180 วัน เพิ่มสิทธิลาไปรักษาดูแลคนในครอบครัว/คนสนิท ไม่เกิน 15 วันทำงานต่อปี เพิ่ม “ห้องคุณแม่” ในสถานประกอบการ
เปิดคำร้องศาลรัฐธรรมนูญ ปมโครงการ “ม.33 เรารักกัน” ไม่เยียวยาแรงงานข้ามชาติแม้จ่ายประกันสังคม
อ่าน

เปิดคำร้องศาลรัฐธรรมนูญ ปมโครงการ “ม.33 เรารักกัน” ไม่เยียวยาแรงงานข้ามชาติแม้จ่ายประกันสังคม

จากกรณีโครงการ “ม.33 เรารักกัน” ได้กำหนดเงื่อนไข “สัญชาติไทย” ในการรับเงินเยียวยา ส่งผลให้กลุ่มแรงงานข้ามชาติ ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิรับเงินเยียวยาจากโครงการนี้ได้ ตัวแทนแรงงานจึงยื่นฟ้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าการกระทำนั้นขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญในหลักความเสมอภาคและการเลือกปฏิบัติ
แรงงานข้ามชาติยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ  กรณีจ่ายประกันสังคมแต่ไม่ได้เงินเยียวยา เพราะติดเงื่อนไข “สัญชาติ”
อ่าน

แรงงานข้ามชาติยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ กรณีจ่ายประกันสังคมแต่ไม่ได้เงินเยียวยา เพราะติดเงื่อนไข “สัญชาติ”

มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) พร้อมตัวแทนแรงงาน ยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยความเป็นธรรม จากกรณีที่กระทรวงแรงงานได้กำหนดเงื่อนไขของโครงการ “ม.33 เรารักกัน” ไว้เฉพาะผู้ประกันตนที่มี “สัญชาติไทย”
เลือกปฏิบัติด้วยเหตุ ‘สัญชาติ’?? เปิดคำวินิจฉัยผู้ตรวจการฯ ชี้ “เยียวยา ม.33 ไม่ให้คนต่างชาติ” ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เลือกปฏิบัติด้วยเหตุ ‘สัญชาติ’?? เปิดคำวินิจฉัยผู้ตรวจการฯ ชี้ “เยียวยา ม.33 ไม่ให้คนต่างชาติ” ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

ผู้ตรวจการแผ่นดินระบุ โครงการ “ม.33เรารักกัน” ที่กำหนดคุณสมบัติผู้ได้รับสิทธิเป็นบุคคลสัญชาติไทย มิได้เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมจากความแตกต่างเรื่องเชื้อชาติ พร้อมยกเหตุผล “สัญชาติ” คนละความหมายกับ “เชื้อชาติ”
ถูก “ไล่ออก” กะทันหัน ลูกจ้างยื่นฟ้องนายจ้างเองได้ไม่ต้องกลัวเสียเงิน
อ่าน

ถูก “ไล่ออก” กะทันหัน ลูกจ้างยื่นฟ้องนายจ้างเองได้ไม่ต้องกลัวเสียเงิน

หากนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างหรือค่าชดเชยให้ครบให้ถูกต้อง ช่องทางที่จะให้ลูกจ้างเรียกร้องสิทธิที่ได้รับเงินจากนายจ้างทำได้สองวิธี คือ ยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน หรือยื่นฟ้องคดีต่อศาลแรงงานโดยตรง ซึ่งทั้งสองวิธีไม่ต้องใช้ทนายความ และไม่เสียค่าธรรมเนียม
ถูกไล่ออกเพราะโควิด-19 ลูกจ้างยังมีสิทธิต้องได้รับค่าชดเชย
อ่าน

ถูกไล่ออกเพราะโควิด-19 ลูกจ้างยังมีสิทธิต้องได้รับค่าชดเชย

สถานการณ์ #โควิด-19 มาพร้อมกับปัญหาเศรษฐกิจ การปรับลดพนักงาน หรือ "ไล่ออก" ในมุมของลูกจ้างกระทบต่อความมั่นคงในชีวิตอย่างมาก พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ให้ความคุ้มครองกับลูกจ้างกรณีที่ถูกไล่ออก ต้องได้รับค่าชดเชย อย่างน้อยเพื่อที่จะยังประคองชีวิตอยู่ได้ระหว่างการหางานใหม่
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิแรงงานอ่อนแอ ไม่ประกันค่าแรงขั้นต่ำเท่ากันทั่วประเทศ
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิแรงงานอ่อนแอ ไม่ประกันค่าแรงขั้นต่ำเท่ากันทั่วประเทศ

ผู้ใช้แรงงานซึ่งเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศย่อมได้รับการคุ้มครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้รัฐธรรมนูญ 2560 ใช้ข้อความว่า ให้แรงงานได้รับค่าแรงที่เหมาะสมแก่การดำรงชีพ
แรงงานนอกระบบไม่ได้มีแค่คนจน ทุกคนมีความเสี่ยง
อ่าน

แรงงานนอกระบบไม่ได้มีแค่คนจน ทุกคนมีความเสี่ยง

งานเปิดตัวหนังสือ Fifty Shades of Work สะท้อนปัญหาแรงงานนอกระบบที่ส่วนใหญ่สวัสดิการไม่เพียงพอ บรรณาธิการหนังสือและทราย เจริญปุระ ร่วมแชร์ แรงงานนอกระบบไม่ได้มีแต่คนจน อาชีพรับจ้างอิสระ ดารานักแสดง ล้วนเป็นแรงงานนอกระบบ ต้องการการคุ้มครอง
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิแรงงานแบบกลับไม่ได้-ไปไม่ถึง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิแรงงานแบบกลับไม่ได้-ไปไม่ถึง

ทันทีที่ร่างรัฐธรรมนูญมีชัยเผยโฉมออกมา มันได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังกลุ่มคนหลายกลุ่มในสังคม หนึ่งในนั้นก็คือ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน เนื่องจากมีความกังวลกันว่าสิทธิที่เคยได้รับการคุ้มครองในอดีตจะหายไปหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องค่าจ้างที่เป็นธรรม การจัดสวัสดิการโดยเสมอภาค และการรวมตัวกันเป็นสหภาพ
ดักคอราชการ อย่าฉวยช่วงการเมืองสุญญากาศ ยกร่าง กม.สถาบันความปลอดภัย
อ่าน

ดักคอราชการ อย่าฉวยช่วงการเมืองสุญญากาศ ยกร่าง กม.สถาบันความปลอดภัย

เครือข่ายแรงงานร้อง ก.แรงงาน ชะลอยกร่างกฏหมายการจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ ไว้ก่อนจนกว่ารัฐบาลใหม่จะเข้ามาบริหาร ดักคอราชการอย่าใช้ช่วงสุญญากาศทางการเมือง ยกร่างกฏหมายเอง