ย้อนความจำ 12 ปี กรุงเทพฯ ภายใต้ประชาธิปัตย์ กปปส. และ คสช.
อ่าน

ย้อนความจำ 12 ปี กรุงเทพฯ ภายใต้ประชาธิปัตย์ กปปส. และ คสช.

คนเมืองหลวงไม่ได้เลือกตั้งท้องถิ่นของตนเองเป็นเวลากว่า 9 ปี จุดเริ่มต้นของการตัดสิทธิเลือกตั้งเกิดขึ้นเมื่อมีการรัฐประหาร 2557 จากนั้นเครือข่าย คสช. ก็เริ่มดำเนินการเข้าแทรกแซง กทม.ทั้งงานบริหารและงานนิติบัญญัติเป็นเวลาเกือบหนึ่งทศวรรษ
เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์
อ่าน

เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์

6 เมษายน 2565 งานเสวนาในหัวข้อ “5 ปี รัฐธรรมนูญ 60 : สิทธิเสรีภาพที่หายไป ภายใต้โครงสร้างรัฐใหม่ที่รวมศูนย์”
ความอยุติธรรมในยุคคสช.-สิ่งที่ กสม. (อาจ)ไม่รู้และไม่ทำอะไร
อ่าน

ความอยุติธรรมในยุคคสช.-สิ่งที่ กสม. (อาจ)ไม่รู้และไม่ทำอะไร

แหวน-ณัฏฐธิดา มีวังปลา เล่าถึงการเผชิญหน้ากับความอยุติธรรม โดยที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือเธออย่างที่ควรจะเป็น
วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้
อ่าน

วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้

9 มีนาคม 2565 สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา จัดงานเสวนา “เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย: เราจะก้าวไปด้วยกัน”
ล้างมรดก คสช. ล้มเหลว สภาปัดตกทุกช่องทาง
อ่าน

ล้างมรดก คสช. ล้มเหลว สภาปัดตกทุกช่องทาง

หลังการเลือกตั้ง 2562 มีความพยายามใช้เวทีรัฐสภาในการขจัดมรดก คสชซ หลายครั้งแต่ก็ประสบความล้มเหลว ที่ผ่านมีความพยายามทั้งหมดแปดครั้ง โดยสามวิธีการที่จะใช้เวทีรัฐสภาปลดอาวุธ คสช. แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ          
เปิดคำชี้แจงตัวแทนผู้เสนอร่างกฎหมาย #ปลดอาวุธคสช
อ่าน

เปิดคำชี้แจงตัวแทนผู้เสนอร่างกฎหมาย #ปลดอาวุธคสช

8 ธันวาคม 2564 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างพ.ร.บ. #ปลดอาวุธคสช ซึ่งเสนอโดยประชาชนเข้าชื่อกัน 13,409 คน เพื่อให้ยกเลิกประกาศและคำสั่งของ คสช. รวม 35 ฉบับ ที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย
เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ
อ่าน

เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ

เงื่อนไขที่จะทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ “ต้อง” ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐธรรมนูญกำหนดไว้หลายช่องทาง ซึ่งการจะทำความเข้าใจวิธีการถอดถอนนายกรัฐมนตรีทั้งหมดได้ ต้องพิจารณาจากหลายมาตราประกอบกัน โดยเริ่มจากมาตราหลัก คือ มาตรา 170 
ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”
อ่าน

ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”

จากการตรวจดูผลการลงมติแก้รัฐธรรมนูญ พบว่า การลงมติของ ส.ว. เป็นไปอย่าง “ไม่สนโลก” ไม่ว่าจะเป็นการลงมติเพื่อขัดขวางเสียงข้างมากของสภาผู้แทนฯ การขาดประชุมของ ส.ว. ที่ควบตำแหน่งผู้นำเหล่าทัพ หรือ การเปลี่ยนจุดยืนของ ส.ว. ที่เคยลงมติปิดสวิตซ์ ส.ว.
แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการประชุมสภาแก้รัฐธรรมนูญภาคสองวันแรก
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการประชุมสภาแก้รัฐธรรมนูญภาคสองวันแรก

23 มิถุนายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ซึ่งประกอบไปด้วย ส.ส. และ ส.ว. มีนัดพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญแบบ “รายมาตรา” รวมกัน 13 ฉบับ โดยประเด็หลักที่มีการอภิปรายอย่างกว้างขวางคือ เรื่องอำนาจของ ส.ว. ในการร่วมเลือกนายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 กับ การจำกัดอำนาจของ ส.ส. ในการแปรญัตติงบประมาณ และการแทรกแซงการดำเนินงานของราชการ ตามมาตรา 144 กับ 185 ตามลำดับ
ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง

ศึก #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสองที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 22-24 มิถุนายน 2564 ข้อเสนอสำคัญที่พรรคการเมืองทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล ยกเว้นพรรคพลังประชารัฐและพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมใจกันยื่น คือ การตัดอำนาจ ส.ว. ซึ่งในการแก้ไขเรื่องดังกล่าวคงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะต้องอาศัยเสียงเห็นชอบจากตัว ส.ว. เองไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 หรือประมาณ 84 คนจากเสียงทั้งหมด 250 คน