สรุปคำฟ้อง สื่อมวลชนร้องศาลห้ามตำรวจยิงกระสุนยาง งดใช้ความรุนแรงในพื้นที่ชุมนุม
อ่าน

สรุปคำฟ้อง สื่อมวลชนร้องศาลห้ามตำรวจยิงกระสุนยาง งดใช้ความรุนแรงในพื้นที่ชุมนุม

ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระบุว่าขณะนี้มีคดีที่สื่อมวลชนที่ได้รับผลกระทบเป็นโจทก์ฟ้องเจ้าหน้าที่รัฐจากการใช้กระสุนยาง จำนวน 2 คดี คือ จากเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #ม็อบ20มีนา และ #ม็อบ18กรกฎา โดยทั้งสองคดีนั้น มีคำขอให้ศาลสั่งห้ามเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ความรุนแรงในการสลายการชุมนุม  
เพศสภาพ/เพศวิถี เครื่องมือก่อความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ต่อนักการเมือง/นักกิจกรรมหญิง
อ่าน

เพศสภาพ/เพศวิถี เครื่องมือก่อความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ต่อนักการเมือง/นักกิจกรรมหญิง

รศ.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้นำเสนอรายงานการวิจัยเรื่อง “เกลียด/โกรธ/กลัว: ความรุนแรงทางเพศ/เพศสภาพในพื้นที่ออนไลน์” ระบุว่า จากผลการศึกษา “รัฐ” เป็นส่วนหนึ่งในการใช้ความรุนแรงออนไลน์ต่อนักการเมืองเพศหญิงด้วย ผ่านการใช้สื่อประณามหรือประจานนักการเมืองหญิง  
“หลักสากล” สำหรับการชุมนุมและการสลายการชุมนุม
อ่าน

“หลักสากล” สำหรับการชุมนุมและการสลายการชุมนุม

ชวนดูหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการชุมนุม และหลักปฏิบัติหากเจ้าหน้าที่จะสลายการชุมนุม หลังจากมีการสลายการชุมนุมของ "คณะราษฎร63" เมื่อช่วงค่ำวันที่ 16 ต.ค.ที่ใต้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม
สันติวิธีหายไปไหน? เมื่อมีความรุนแรงต่อนักกิจกรรม คุยกับ ดร.เอกพันธุ์ ปิณฑะวณิช
อ่าน

สันติวิธีหายไปไหน? เมื่อมีความรุนแรงต่อนักกิจกรรม คุยกับ ดร.เอกพันธุ์ ปิณฑะวณิช

ชวนดร.เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช ผู้อำนวยการสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล คุยเรื่องความรุนแรงในสังคมไทย และความเป็นไปได้ของ “สันติวิธี”
จับตาสังคมไทยในยามที่ความขัดแย้งกำลังเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้ความรุนแรง
อ่าน

จับตาสังคมไทยในยามที่ความขัดแย้งกำลังเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้ความรุนแรง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดเสวนาวิชาการหัวข้อ “ทุเลาความรุนแรงและความเกลียดชังในสังคมไทย” เพื่อมองหาแนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างเป็นรูปธรรม
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองคือบทพิสูจน์ความจริงใจของรัฐบาลใหม่
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองคือบทพิสูจน์ความจริงใจของรัฐบาลใหม่

หากรัฐบาลใหม่ต้องการจะพิสูจน์ความจริงใจในการฟื้นฟูหลักนิติรัฐ จะต้องรักษาสถานการณ์ไม่ให้เกิดความรุนแรงต่อผู้ที่แสดงความเห็นต่างทางการเมือง
กรณีตบหน้าสู่ฆาตฯวิสามัญ: ความรุนแรงที่แฝงเร้นลอยนวล
อ่าน

กรณีตบหน้าสู่ฆาตฯวิสามัญ: ความรุนแรงที่แฝงเร้นลอยนวล

หลังดอยหลวงเชียงดาวอันสวยงาม ยังมีกรณีการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มชาติพันธ์เสมอมา ซึ่งชัยภูมิ ป่าแส ไม่ใช่กรณีแรกและอาจจะไม่ใช่กรณีสุดท้าย
เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย
อ่าน

เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย

รายงานการวิจัยเผยให้เห็นว่านักเรียน 'LGBT' มากกว่าครึ่งเคยถูกรังแกเพราะว่าเป็น 'LGBT' และ 1 ใน 4 ของนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็น 'LGBT' ก็ถูกรังแกด้วยสาเหตุเดียวกัน
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิทางสาธารณสุข เพิ่มสิทธิมารดา คำว่า “สิทธิเสมอกัน” หายไป
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิทางสาธารณสุข เพิ่มสิทธิมารดา คำว่า “สิทธิเสมอกัน” หายไป

สิทธิทางด้านสาธารณสุขในร่างรัฐธรรมนูญ เป็นประเด็นที่กระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกคน ขณะที่คนร่างโปรโมตร่างรัฐธรรมนูญนี้ว่า คุ้มครอง “ตั้งแต่ท้องแม่จนถึงแก่เฒ่า” ข้อกังวลของสังคมคือ ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านจะเปิดทางให้ “ยกเลิกบัตรทอง” ในอนาคตหรือไม่