การแก้ไขยุทธศาสตร์ชาติ / ยุทธศาสตร์ชาติ คสช.
อ่าน

การแก้ไขยุทธศาสตร์ชาติ / ยุทธศาสตร์ชาติ คสช.

ยุทธศาสตร์ คสช. ที่จะบังคับใช้ยาวนานถึง 20 ปี ทำให้เกิดคำถามว่าการเขียนยุทธศาสตร์ล่วงหน้านานเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริงหรือ เพราะปัจจุบันโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การบังคับและการมีบทลงโทษให้รัฐบาลต่างๆ ที่ไม่เดินตามยุทธศาสตร์ คสช. ทำให้ยุทธศาสตร์ คสช. เป็นเสมือนโซ่ตรวนรัดประเทศไม่ให้ก้าวไปข้างหน้า
ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน

สนช. รับหลักการร่าง พ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันสำหรับองค์การระหว่างประเทศฯ ซึ่งจะกำหนดเอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างเป็นทางการให้กับองค์การระหว่างประเทศที่จะมาตั้งสำนักงานในไทย และบุคลากรของหน่วยงานดังกล่าว รวมถึงการประชุม และผู้เข้าร่วมการประชุมประหว่างประเทศด้วย
รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.

สมาชิก สนช. และ ครม. มาจากการแต่งตั้งใครก็ได้ในตอนแรก แต่เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ คุณสมบัติของผู้ใช้อำนาจก็ต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย ทำให้สมาชิก สนช. และ ครม. มีเรื่องต้องถูกตรวจสอบมากขึ้น แต่ยังยกเว้นให้เป็นข้าราชการไปด้วย นั่งในสภาไปพร้อมกันได้
“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.
อ่าน

“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.

แม้ยังไม่เห็นเนื้อร่างยุทธศาสตร์ชาติ แต่ที่เป็นรูปธรรมแน่นอนแล้วคือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ว่าจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งต่อจากนี้ไปคณะกรรมการชุดนี้จะเข้ามาทำหน้าที่ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับจริง และเมื่อร่างเสร็จก็จะมีบทบาทในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลชุดต่อๆ ไป  
รัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว)’57 สองปีแก้สี่ครั้ง
อ่าน

รัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว)’57 สองปีแก้สี่ครั้ง

ระยะเวลาประมาณ 2 ปี 5 เดือน รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ถูกแก้ไขเพิ่มเติมไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง ทุกครั้งใช้เวลาเพียงวันเดียวในการให้ความเห็นชอบ เมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญถาวรเรียกว่า แก้ได้ง่ายกว่ามาก และเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญชั่วคราวด้วยกันยังไม่มีข้อมูลว่า ในอดีตเคยมีฉบับไหนมีการแก้ไขเพิ่มเติมบ้าง
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตีกรอบนโยบายให้คณะรัฐมนตรีทำงานเหมือนข้าราชการประจำ

ประเด็น ครม.ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ พรรคเพื่อไทยและนักวิชาการบางส่วนวิจารณ์ว่า ให้อำนาจกับองค์กรตุลาการและองค์กรอิสระตรวจสอบฝ่ายรัฐบาลซึ่งมีที่มาจากประชาชนแต่เพียงฝ่ายเดียว ขัดแย้งกับหลักตรวจสอบถ่วงดุล ในทางตรงข้าม กรธ.อธิบายว่า เพียงแต่เพิ่มกลไกในการตรวจสอบการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สร้างมาตรฐานจริยธรรม ควบคุมฝ่ายการเมือง

ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย มีกลไกปราบโกงในหลายระดับ ซึ่งอำนาจตรวจสอบและกำหนดขั้นตอนการลงโทษเหล่านี้ กรธ.ตัดสินใจมอบอำนาจหน้าที่ให้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระเป็นหลัก โดยมีหนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญ คือ “มาตรฐานทางจริยธรรม”
ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในการใช้ชีวิตของประชาชน
ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค. 59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา