เช็กผลงาน สว. 67 เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ-ข้าราชการระดับสูงไปกี่ตำแหน่ง
อ่าน

เช็กผลงาน สว. 67 เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ-ข้าราชการระดับสูงไปกี่ตำแหน่ง

ตลอดอายุห้าปีของ สว. 2567 จะให้ความเห็นชอบผู้มาดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและกรรมการองค์กรอิสระได้ “เกินครึ่ง” รวมทั้งให้ความเห็นชอบข้าราชการระดับสูงบางตำแหน่ง
เปิดทุกขั้นตอน กว่าจะเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ-กรรมการองค์กรอิสระ มีคุณสมบัติแบบไหน ผ่านด่านอะไรบ้าง
อ่าน

เปิดทุกขั้นตอน กว่าจะเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ-กรรมการองค์กรอิสระ มีคุณสมบัติแบบไหน ผ่านด่านอะไรบ้าง

รัฐธรรมนูญ 2560 ออกแบบกลไกให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและกรรมการองค์กรอิสระ มาจากการ “คัดเลือก-สรรหา” และผ่านความเห็นชอบโดยวุฒิสภา ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน แต่มาจากการเลือกกันเอง
7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม

หลังการรัฐประหารปี 2557 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญกลายเป็นส่วนของระบบเผด็จการ คสช. ตลอดเจ็ดปีที่ผ่านมา องค์กรเหล่านี้เข้ามายึดพื้นที่ทางการเมือง เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาอำนาจ คสช. และทำลายฝ่ายตรงข้าม คสช.
กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ
อ่าน

กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ

หลังกรรมการสิทธิฯ ถูก “เซ็ตซีโร่” เมื่อปี 2560 บทบาทขององค์กรนี้ก็หายหน้าไป การสรรหาชุดใหม่ก็ช้า เพราะ สนช. “ไม่เห็นชอบ” ให้ใครมานั่งตำแหน่งนี้ง่ายๆ ลงมติไปสี่รอบจึงได้มา 6 จาก 7 คน
เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ
อ่าน

เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ

การสรรหาผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ชุดที่สี่ยังลุ่มๆ ดอนๆ เมื่อเปิดรับสมัครใหม่และเห็นรายชื่อผู้สมัครแล้ว พบคนหน้าเก่าที่อยู่กับแวดวงองค์กรอิสระ และยังมีหลายคนที่เกี่ยวโยงกับเครือข่ายของ คสช. ไอลอว์จึงอยากชวนจับตามองกระบวนการคัดเลือก กสม. ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้
ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง
อ่าน

กฎหมาย กสม. ฉบับใหม่ เปลี่ยนองค์กรตรวจสอบเป็นกระบอกเสียงรัฐ

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรอิสระที่มุ่งหวังให้มีกลไกอิสระ เพื่อทำหน้าที่ส่งเสริม คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิเสรีภาพของประชาชนให้มีผลปรากฏเป็นจริง แต่เมื่อเปลี่ยนรัฐธรรมนูญใหม่เป็นรัฐธรรมนูญปี 2560 คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ต้องตรากฎหมายลูกอย่าง พ.ร.ป.กสม. ขึ้นมา และเปลี่ยนให้องค์กรตรวจสอบเป็นกระบอกเสียงรัฐ
หวั่น ร่าง พ.ร.ป. กสม. ฉบับใหม่ ขัดหลักการปารีส ทำ กสม. ไทยถูกลดสถานะภาพจาก B เป็น C
อ่าน

หวั่น ร่าง พ.ร.ป. กสม. ฉบับใหม่ ขัดหลักการปารีส ทำ กสม. ไทยถูกลดสถานะภาพจาก B เป็น C

การดำเนินงานปกป้องและติดตามสถานการณ์ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนถือว่า ล้มเหลว ขัดกับหลักการปารีส และ ร่าง พ.ร.ป. กสม. ฉบับใหม่ เสี่ยงทำให้ กสม. ไทยถูกลดเหลือเพียงระดับ C
มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน
อ่าน

มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน

กรธ.เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยมีชัย ฤุชพันธ์ุ ประธานกรธ. กล่าวถึงปัญหาสำคัญของกสม. ที่ร่างพ.ร.ป.ฉบับใหม่จะพัฒนาให้ดีขึ้น และกล่าวถึงประเด็นในร่างรัฐธรรมนูญ ที่ให้กสม.ออกมาชี้แชงกรณีมีรายงานที่ไม่จริงเกี่ยวกับประเทศไทยว่าไม่ใช่ทำหน้าที่โฆษกรัฐบาล