TDRI กับข้อเสนอปฏิรูประบบกฎหมาย ‘ล้าหลัง-ล้นเกิน’ สร้างภาระ 2 แสนล้าน
อ่าน

TDRI กับข้อเสนอปฏิรูประบบกฎหมาย ‘ล้าหลัง-ล้นเกิน’ สร้างภาระ 2 แสนล้าน

TDRI เทียบระบบราชการไทยกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยกล่าวถึงสิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ รัฐไทยมีขีดความสามารถในการรับมือกับภาวะวิกฤติต่างๆ ลดลง เพราะความไม่มีประสิทธิภาพของระบบราชการ ที่เปรียบเสมือน “ระบบปฏิบัติการ” ของประเทศ เป็นระบบที่ตอบสนองช้า มีชุดคำสั่งหรือกฎหมายล้าสมัย หรือมีข้อผิดพลาด (bug) มากทำให้ให้เกิดต้นทุนสูงต่อสังคม 
ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง
‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน
อ่าน

‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน

มีชัย ฤชุพันธ์ุ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ คนล่าสุด ผู้มีประสบการณ์โชกโชนในวงการเมืองและกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรอบ 20 ปัหลังเมื่อเกิดรัฐประหารเขาจะเป็นคนแรกที่ทหารคิดถึง ชวนทำความรู้จักมีชัย และความคิดบ้างส่วนของเขา
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
จับตากฎหมายจาก สนช.
อ่าน

จับตากฎหมายจาก สนช.

ช่องทางการเสนอกฏหมายปัจจุบันต้องเสนอผ่าน คสช. ครม.และ สนช. ในขั้นตอนของสภาก็มีเพียงแค่สภาเดียวไม่มีฝ่านค้าน ทำให้น่ากังวลเนื่องจากขาดการตรวจสอบถ่วงดุล และการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่มีส่วนได้เสีย ร่วมกันติดตามร่างกฏหมายที่น่าสนใจที่กำลังอยู่ในขั้นตอนต่างๆ ที่นี่  
TDRI เปิดผลวิจัยจี้กฤษฎีกาจำกัดอำนาจตัวเอง
อ่าน

TDRI เปิดผลวิจัยจี้กฤษฎีกาจำกัดอำนาจตัวเอง

ผลวิจัยTDRI เผย 15 ปีกฎหมายประชาชนเข้าสภา 37 ผ่าน 3 ฉบับ เจาะปัญหากฤษฎีกามีอำนาจแก้หลักการกฎหมาย กรรการล้วนเป็นข้าราชการเก่า อายุมาก ไม่มีจำกัดวาระ, ปกป้อง จันวิทย์เสนอจำกัดอายุ จำกัดอำนาจ บวรศักดิ์โต้ข้อเสนอสุดโต่งเกิน 
เงื่อนไขการสั่งเซ็นเซอร์สื่อ
อ่าน

เงื่อนไขการสั่งเซ็นเซอร์สื่อ

TRANSLATION IN NEED! To be a volunteer? click here for detail. ……………………………….. กฎหมายกำหนดเงื่อนไขการปิดกั้นสื่อแต่ละประเภทไว้ไม่เหมือนกัน โดยรวมอาจมีหลักการหลายอย่างที่สอดคล้องกันแต่หากเปรียบเทียบกฎหมายหลายฉบับจะพบว่า มีเนื้อหาบางประเภทที่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ แต่ไม่สามารถเผยแพร่ในสื่อบางประเภทได้ ขณะที่เนื้อหาบางประเภท เช่น เนื้อหาที่ “ขัดต่อความสงบเรียบร้อย” หรือ “ศีลธรรมอันดี” ถูกกำหนดให้เป็นเงื่อนไขห้ามเผยแพร่ในกฎหมายที่ควบคุมดูแลสื่อทุกประเภท    
วุ่นแล้ว ! แจกเข็ม-อุปกรณ์ฉีดป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ส่อผิดกฎหมาย
อ่าน

วุ่นแล้ว ! แจกเข็ม-อุปกรณ์ฉีดป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ส่อผิดกฎหมาย

กฤษฎีกาตีความว่า นโยบายแจกเข็มฉีดยา และอุปกรณ์การฉีดที่สะอาดให้แก่ผู้เสพยาเสพติด เพื่อป้องกันการติดเชื่อเอชไอวี ขัดต่อพ.ร.บ.ยาเสพติด และคนแจกอาจผิดฐานสนับสนุนการเสพ
นักสิทธิฯ ไม่ยอม เจ้าหน้าที่ทำละเมิดไม่ขึ้นศาลปกครองไม่ได้
อ่าน

นักสิทธิฯ ไม่ยอม เจ้าหน้าที่ทำละเมิดไม่ขึ้นศาลปกครองไม่ได้

องค์กรสิทธิฯ ลุกขึ้นท้วงกฤษฎีกา เขียนกม.ความรับผิดเจ้าหน้าที่ แต่ตัดอำนาจศาลปกครอง เข้ายื่นหนังสือคัดค้าน ย้ำเขียนตัดอำนาจศาลปกครองเข้าข่ายขัดรัฐธรรมนูญ