อนาคตคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังไม่แน่นอน ครม. ต้องสั่ง “ยกเลิกคดี” ให้ชัดเจนด้วย
อ่าน

อนาคตคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังไม่แน่นอน ครม. ต้องสั่ง “ยกเลิกคดี” ให้ชัดเจนด้วย

คดีจากการฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังมีอนาคตที่สับสน แม้ว่าการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโรคโควิดจะสิ้นสุดลง แต่คดียังอาจเดินหน้าต่อไปได้ ไม่ใช่กรณีกฎหมายถูกยกเลิก ซึ่งคณะรัฐมนตรีควรต้องใช้อำนาจออกประกาศให้ชัดเจนเพื่อหาทางลดภาระในกระบวนการยุติธรรม
สรุปคำฟ้อง เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุมโดยเครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ
อ่าน

สรุปคำฟ้อง เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุมโดยเครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ

วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ นำโดยนิมิตร์ เทียนอุดม ธนพร วิจันทร์ และภรณ์ทิพย์ สยมชัย ร่วมกันเป็นโจทก์ฟ้องพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาและพวกต่อศาลแพ่ง เพื่อขอให้ศาลมีคำพิพากษาเพิกถอนข้อกำหนดเรื่องห้ามชุมนุม
ประชาชนไม่ทน รวมเหตุผลฟ้องเพิกถอนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

ประชาชนไม่ทน รวมเหตุผลฟ้องเพิกถอนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

2 ปี ที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร โดยอ้างว่า เพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด19 รวม 42 ฉบับ
ไล่เรียง ‘ประกาศ ผบ.สส.’ สั่งห้ามชุมนุมเข้มงวดยิ่งกว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

ไล่เรียง ‘ประกาศ ผบ.สส.’ สั่งห้ามชุมนุมเข้มงวดยิ่งกว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ออกคำสั่งควบคุมการชุมนุมมารวม 15 ฉบับ สร้างความสับสนในการใช้เสรีภาพ เพิ่มเครื่องมือสั่งห้ามชุมนุม
ไล่เรียง ข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

ไล่เรียง ข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

การควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด 19 เป็นการประกาศใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่กินระยะเวลายาวนานที่สุด ไม่นับการใช้ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง
อ่าน

ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง

นับจนถึงต้นเดือนตุลาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ออกข้อกำหนดเพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั้งสิ้น 34 ฉบับ และยังแต่งตั้งให้พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนนที่เกี่ยวกับความมั่นคง พล.อ.เฉลิมพลก็ได้ออกประกาศหัวหน้าผู้รับชอบฯเรื่อง ห้ามการชุมชุม การทำกิจกรรม การมั่วสุม ที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 ) รวมแล้ว 11 ฉบับ กลายเป็นกฎหมายหลักที่ถูกนำมาใช้สั่ง “ห้ามชุมนุม” และดำเนินคดีผู้ชุมนุมตามหลัง
ศาลสั่ง งดใช้ข้อกำหนดฯ “ตัดเน็ต” คนเผยแพร่ข่าวทำให้หวาดกลัว ชี้ขัดรัฐธรรมนูญ-ไม่มีกฎหมายให้อำนาจ
อ่าน

ศาลสั่ง งดใช้ข้อกำหนดฯ “ตัดเน็ต” คนเผยแพร่ข่าวทำให้หวาดกลัว ชี้ขัดรัฐธรรมนูญ-ไม่มีกฎหมายให้อำนาจ

ศาลแพ่งมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวระงับการบังคับใช้ข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29  ที่เป็นการห้ามเผยแพร่ข้อความที่ทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว และให้อำนาจ กสทช. “ตัดเน็ต” เลขที่อยู่ไอพี โดยให้เหตุผลว่าเป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ และ พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ ก็ไม่ได้ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในสั่ง
สื่อ-นักกฎหมาย-นักการเมือง ประสานเสียงค้าน “มาตรการคุมสื่อ” ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

สื่อ-นักกฎหมาย-นักการเมือง ประสานเสียงค้าน “มาตรการคุมสื่อ” ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ภายหลังข้อกำหนด ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่กำหนดว่าห้ามเสนอข่าวที่ทำให้ประชาชนหวาดกลัว หรือบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงอนุญาตให้ กสทช.มีอำนาจ "ตัดเน็ต" หากพบว่า IP address ใดทำผิดข้อกำหนด มีผลบังคับใช้ มันได้สร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนอย่างกว้างขว้าง จนเกิดเป็นปฏิกิริยาตอบโต้จากทั้งบรรดาสื่อมวลชน นักกฎหมาย รวมถึงกลุ่มการเมือง ที่มองว่า นี่คือการคุกคามสื่อและจงใจปิดหูปิดตามประชาชน
ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์
อ่าน

ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์

ทุกการระบาดใหญ่ตั้งแต่ระลอกแรกไปจนถึงการระบาดใหญ่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา รัฐไทยยังคงหวังใช้มาตรการควบคุมทางสังคม เช่น "การล็อคดาวน์" เป็นกลไกหลัก ทั้งที่ หัวใจสำคัญ คือ มาตรการทางสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการตรวจเชิงรุก การติดตามผู้ป่วย ไปจนการฉีดวัคซีน แต่รัฐไทยก็กลับละเลย