แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา

ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 ถึงเดือนธันวาคม 2565 รัฐสภาร่วมกันระหว่าง ส.ส. และ ส.ว. ต้องอภิปรายลงมติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งหมด ห้ายก รวมทั้งหมด 26 ข้อเสนอ รวมสถิติที่น่าสนใจในศึกการแก้รัฐธรรมนูญที่ผ่านมา
ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ
อ่าน

ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 323+1 = 324 เสียง ไม่เห็นด้วย 0 เสียง ต้องส่งต่อให้วุฒิสภาให้ความเห็นชอบอีกเช่นกัน 
ปิดสวิตช์ ส.ว. เสนอมาห้าครั้ง ทุกรูปแบบทุกกระบวนท่า ไม่เคยผ่าน ส.ว.
อ่าน

ปิดสวิตช์ ส.ว. เสนอมาห้าครั้ง ทุกรูปแบบทุกกระบวนท่า ไม่เคยผ่าน ส.ว.

ที่ผ่านมา ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่เสนอให้ปิดสวิตช์ ส.ว. ห้าฉบับไม่ได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ถึงอย่างน้อยหนึ่งในสามหรือ 84 เสียงเลยแม้แต่ครั้งเดียว ข้อเสนอล่าสุดของกลุ่ม No 272 มีความแตกต่างจากข้อเสนอที่ผ่านมาเพราะมีการเสนอในลักษณะ “ประเด็นเดียว” คือมุ่งตรงไปที่อำนาจเลือกนายกของ ส.ว. เท่านั้นและไม่แตะประเด็นอื่นเลย
จับตา! #แก้รัฐธรรมนูญ season 4 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ – นายกฯ ต้องเป็นส.ส.
อ่าน

จับตา! #แก้รัฐธรรมนูญ season 4 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ – นายกฯ ต้องเป็นส.ส.

6-7 ก.ย. 2565 รัฐสภามีกำหนดนัดพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ จากร่างหกฉบับ หนึ่งฉบับ เสนอโดยภาคประชาชนหกหมื่นกว่ารายชื่อ ร่วมกันเข้าชื่อเพื่อเสนอปิดสวิตช์ส.ว. ในการเลือกนายกรัฐมนตรี สามฉบับ เสนอโดยส.ส.พรรคเพื่อไทย แก้หลายประเด็น และอีกหนึ่งฉบับ เสนอโดยส.ส.พรรคภูมิใจไทย เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 120 เกี่ยวกับการกำหนดองค์ประชุม
ไอติม-ปิยบุตร นำเสนอสภาเดี่ยวรื้อ “ระบอบประยุทธ์”
อ่าน

ไอติม-ปิยบุตร นำเสนอสภาเดี่ยวรื้อ “ระบอบประยุทธ์”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา ที่จะนำร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยภาคประชาชน เข้าสู่การพิจารณา ร่างฉบับนี้มีชื่อเล่นว่าร่าง "รื้อระบอบประยุทธ์" มี ไอติม พริษฐ์, ปิยบุตร, ณัชปกร iLaw, ลูกเกด ชลธิชา และจักรินทร์ เป็นตัวแทนผู้เสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทำหน้าที่ชี้แจงร่างต่อสภา
เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ
อ่าน

เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ

เงื่อนไขที่จะทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ “ต้อง” ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐธรรมนูญกำหนดไว้หลายช่องทาง ซึ่งการจะทำความเข้าใจวิธีการถอดถอนนายกรัฐมนตรีทั้งหมดได้ ต้องพิจารณาจากหลายมาตราประกอบกัน โดยเริ่มจากมาตราหลัก คือ มาตรา 170 
แก้รัฐธรรมนูญ: จับตาวาระสาม “สองประเด็น-สองเงื่อนไข-หนึ่งประชามติ”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: จับตาวาระสาม “สองประเด็น-สองเงื่อนไข-หนึ่งประชามติ”

หลังจากสภามีมติเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญวาระที่สองเสร็จสิ้นไปแล้ว ขั้นตอนถัดไปคือการพิจารณาในวาระสามซึ่งเป็นวาระสุดท้าย หากรัฐสภามีมติเห็นชอบก็ให้ดำเนินการเพื่อประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป แต่ทว่าเกมส์การแก้รัฐธรรมนูญในวาระสามไม่ใช่เรื่องง่าย หาก ส.ว.หรือพรรคฝ่ายค้านรวมตันกันไม่เห็นด้วย
ปฏิทิน ‘อย่างเร็ว’ สู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ถ้าไม่ถูกคว่ำ
อ่าน

ปฏิทิน ‘อย่างเร็ว’ สู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ถ้าไม่ถูกคว่ำ

รัฐสภาพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญวาระที่สองเสร็จแล้ว จากนี้จะเข้าสู่การลงมติในวาระสาม ขั้นตอนต่างๆ จะเดินหน้าสู่การทำประชามติ การประกาศใช้รัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม และจัดการเลือกตั้ง สสร ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นในเวลาไม่นานถ้าหากศาลรัฐธรรมนูญไม่สั่งคว่ำกระบวนการเสียก่อน
รวมบทสัมภาษณ์ “เสียงที่คิดใหม่กับรัฐธรรมนูญที่ไร้ทางเลือก”
อ่าน

รวมบทสัมภาษณ์ “เสียงที่คิดใหม่กับรัฐธรรมนูญที่ไร้ทางเลือก”

รวมบทสัมภาษณ์ของคนที่เคย ‘Vote Yes’ ทั้งกับร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วง เมื่อปี 2559 แล้ว ‘คิดใหม่’ ในปี 2563 ว่า #รัฐธรรมนูญ ฉบับ คสช. ต้องแก้ไข ที่ร่วมให้ข้อมูล เพื่อส่งเสียงใหม่ ไม่ให้เขาเอาเสียงไปอ้างใช้ได้อีกต่อไป
ยืนยัน! รัฐธรรมนูญ แก้ได้ “ทุกหมวด ทุกมาตรา” ปัจจุบันไม่มีข้อห้าม อดีตก็ไม่เคยมีข้อห้าม
อ่าน

ยืนยัน! รัฐธรรมนูญ แก้ได้ “ทุกหมวด ทุกมาตรา” ปัจจุบันไม่มีข้อห้าม อดีตก็ไม่เคยมีข้อห้าม

รัฐธรรมนูญนั้นสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ทุกมาตราจริงหรือไม่? มีความเข้าใจว่า รัฐธรรมนูญ หมวด 1 บททั่วไปและหมวด 2 พระมหากษัตริย์ นั้นห้ามแก้ไข ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด เพราะโดยหลักแล้วการแก้ไขรัฐธรรมนูญสามารถแก้ได้ทุกหมวด ทุกมาตรา