4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน
อ่าน

4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน

ป้าน้อย ภรรยาของสุรชัย แซ่ด่าน นักเคลื่อนไหวที่ลี้ภัยทางการเมืองไปยังประเทศเพื่อนบ้านในปี 57 หลังจากนั้นมีข่าวการหายตัวไปของทั้งสุรชัย ภูชนะ และกาสะลอง ก่อนจะพบศพสหายทั้งสองคนถูกมัดใส่กระสอบลอยมาที่ริมน้ำโขง ส่วนร่างของสุรชัยนั้นผ่านมากว่า 4 ปี แล้ว ก็ยังหาร่างไม่พบ
สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”
อ่าน

สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”

มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF) ร่วมกับสมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย (FCCT) จัดงานเสวนาเนื่องในวาระครบรอบสองปี 4 มิถุนายน 2563 การถูกบังคับสูญหายของวันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อแลกเปลี่ยนรูปแบบและแนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐในการติดตามคุกคามนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ไปจนถึงวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อร่วมกันหาแนวทางป้องกันและข้อเสนอแนะต่อไปในอนาคต
RECAP : เสวนาผู้หญิงกับความยุติธรรม การต่อสู้ที่ไม่สิ้นสุด
อ่าน

RECAP : เสวนาผู้หญิงกับความยุติธรรม การต่อสู้ที่ไม่สิ้นสุด

27 มีนาคม 2565 เวลา เครือข่ายภาคประชาสังคมนำโดย Protection international และกลุ่มดินสอสี จัดกิจกรรม Women : Unfinished Justice ผู้หญิงกับความยุติธรรมที่ไม่สิ้นสุด
จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด
อ่าน

จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด

เส้นทางของพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ได้เดินทางมาถึงวาระสอง โดยในชั้นกรรมาธิการได้มีการนำเนื้อหาของร่างของพรรคการเมืองและภาคประชาชนเข้ามารวมกับร่างที่ครม. เสนอในวาระหนึ่งด้วย ทำให้ร่างก้าวหน้าขึ้น การพิจารณาในวาระสอง จึงเป็นอีกหนึ่งวาระที่น่าจับตาว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร
#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว     
จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
รู้แล้วว่า ‘บิลลี่’ ไม่ได้หาย แต่ ‘กฎหมาย’ ยังมีช่องโหว่ พ.ร.บ.ยังไม่โผล่สักที
อ่าน

รู้แล้วว่า ‘บิลลี่’ ไม่ได้หาย แต่ ‘กฎหมาย’ ยังมีช่องโหว่ พ.ร.บ.ยังไม่โผล่สักที

ดีเอสไอ แถลงต่อสาธารณะว่า บิลลี่ได้เสียชีวิตแล้ว ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งใน 86 ราย ที่ถูกบังคับให้สูญหายในรอบ 28 ปี
เปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน” บันทึกการต่อสู้ว่าคนอยู่กับป่าได้ ของชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน
อ่าน

เปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน” บันทึกการต่อสู้ว่าคนอยู่กับป่าได้ ของชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน

3 กรกฎาคม 2562 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ เปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน”
14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน
อ่าน

14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน

วันที่ 12 มีนาคม 2561 มีการจัดงานครบรอบ 14 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในงานมีการวางดอกไม้รำลึกถึงทนายสมชาย โดยครอบครัว และมีเวทีเสวนาเรื่อง “พัฒนาการล่าสุดของ ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและบังคับสูญหาย”
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้!
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้!

วันนี้ (27 เมษายน 2559) มีรายงานผ่านโลกออนไลน์เป็นระยะว่า ประชาชนคนธรรมดาถูกจับกุมและพาตัวไปจากบ้านตั้งแต่เวลารุ่งเช้า ท่ามกลางความสับสนของการใช้อำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าว ไอลอว์มีข้อสังเกตต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ว่า มีปัญหาในแง่ “อำนาจที่ใช้กับฐานความผิดไม่สอดคล้องกัน”