ตารางการใช้กฎหมายเล็กๆ น้อยๆ ดำเนินคดีกับผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมือง
อ่าน

ตารางการใช้กฎหมายเล็กๆ น้อยๆ ดำเนินคดีกับผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมือง

ในยุค คสช. การปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนถูกอ้างอิงและใช้อำนาจผ่าน “กฎหมาย” เพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐบาลทหาร ทั้งกฎหมายที่ออกใหม่ภายใต้รัฐบาล คสช. ทั้ง ประกาศและคำสั่งของ คสช. ก็ถูกหยิบมาใช้ แต่ไม่เพียงเท่านั้น การกระทำเล็กน้อยที่ไม่ได้มุ่งหวังลงโทษให้สาสม แต่มุ่งหวังสร้างความยุ่งยาก เพิ่มภาระให้กับการเคลื่อนไหว คสช. ก็เอากฎหมายที่มีโทษไม่ร้ายแรงมาบังคับใช้ รวมทั้งการหยิบเอากฎหมายเก่าๆ มาใช้อย่างไม่ถูกต้องตามเจตนารมณ์แต่สร้างบรรยากาศความกลัวขึ้นมาได้
กฎหมายห้ามชุมนุมในยุค คสช.
อ่าน

กฎหมายห้ามชุมนุมในยุค คสช.

ในยุค คสช. ประเทศไทยมีกฎหมายที่เจ้าหน้าที่จะเลือกหยิบมาใช้เพื่อห้ามการชุมนุม หรือเพื่อดำเนินคดีเอาผิดกับคนที่จัดการชุมนุมอยู่หลากหลายมาก
หกประเด็นอย่างน้อยที่ยังไม่ถูกการแก้ไขใน พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ ที่ผ่านสนช.ไปแล้ว
อ่าน

หกประเด็นอย่างน้อยที่ยังไม่ถูกการแก้ไขใน พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ ที่ผ่านสนช.ไปแล้ว

แม้จะมีเสียงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ให้ถอดหรือชะลอการพิจารณา "พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ" แต่ดูเหมือนว่าเสียงเหล่านั้นจะไร้ความหมาย เพราะกฎหมายดังกล่าวได้ผ่านวาระ 3 ท่ามกลางข้อถกเถียงที่ยังไม่ได้รับแก้ไข เราจึงขอยกประเด็นเหล่านี้มาให้ทบทวนอีกครั้ง
สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
อ่าน

สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนช. ร่างกฎหมายนี้อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหลายกลุ่มที่จำเป็นต้องใช้การชุมนุมเป็นช่องทางในการเรียกร้องความเป็นธรรม เราสำรวจความเห็นของภาคประชาสังคมที่ใช้ช่องทางนี้เป็นประจำว่าเขาคิดเห็นอย่างไรกับร่างกฎหมายฉบับนี้    
ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้

ปี 2557 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ขุดเอาร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ มาเสนออีกครั้ง เตรียมเข้าสู่สนช. มาคราวนี้กำหนดหน้าที่ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งล่วงหน้า กำหนดหน้าที่ตำรวจคอยอำนวยความสะดวก และกำหนดขั้นตอนกรณีต้องสลายการชุมนุมที่ไม่สงบและปราศจากอาวุธ
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม
อ่าน

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม

ผศ.ดร.จันทจิรา เอี่ยมมยุรา นิติศาสตร์ มธ.ชี้ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสภาพสร้างความเดือดร้อนหรือรบกวนเสรีภาพของคนอื่นอยู่แล้ว แต่แม้จะใช้เครื่องขยายเสียง หรือทำให้คนที่อยู่อาศัยใกล้ๆ เดือดร้อนก็ยังเป็นการชุมนุมโดยสงบ มีดหรือปืนถ้ามีไม่มากก็อาจถือว่าปราศจากอาวุธ
เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย
อ่าน

เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย

เสวนา “ก้าวต่อไปเสรีภาพในการชุมนุม มองผ่านคำพิพากษา” สมชาย ปรีชาฯชี้ ศาลไม่คงเส่นคงวา สังคมต้องช่วยกันให้ความหมายเสรีภาพ กิตติศักดิ์ชี้ มหาลัยบกพร่องที่ไม่สอนเรื่องรัฐธรรมนูญ ทนายชี้ศาลไม่รับฟังเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
นักกฎหมายค้าน พ.ร.บ.ชุมนุม จ่อคิวในสภา
อ่าน

นักกฎหมายค้าน พ.ร.บ.ชุมนุม จ่อคิวในสภา

องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน ออกแถลงการณ์คัดค้านร่างกฎหมายชุมนุมสาธารณะ ที่เตรียมเข้าสภา 9 มีนาคมนี้ ระบุบังคับใช้ไม่ได้ ขัดรัฐธรรมนูญ
กฎหมายการชุมนุม ประชาชนควรมีส่วนร่วม
อ่าน

กฎหมายการชุมนุม ประชาชนควรมีส่วนร่วม

การชุมนุมเรียกร้องทางการเมือง ฝ่ายผู้ชุมนุมมองว่าเป็นสิทธิเด็ดขาดที่พึงมี แต่ทางฝ่ายรัฐบาลก็จะมองว่าการชุมนุมจะต้องมีกรอบมาบังคับเพื่อให้ง่ายต่อการควบคุม
การชุมนุมของประเทศไทยกับบทศึกษาของกฎหมายชุมนุมต่างประเทศ
อ่าน

การชุมนุมของประเทศไทยกับบทศึกษาของกฎหมายชุมนุมต่างประเทศ

การดำเนินการของรัฐไทยเกี่ยวกับการชุมนุมก็ยังไม่ใช่คำตอบของสังคมไทย สมควรที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมหรือไม่