เปิดคำฟ้องคดี 112 ทำโพลขบวนเสด็จ #ตะวันแบม ถูกตั้งข้อหาแม้ตัวโพลไม่ได้ชี้นำผู้ร่วมทำโพล
อ่าน

เปิดคำฟ้องคดี 112 ทำโพลขบวนเสด็จ #ตะวันแบม ถูกตั้งข้อหาแม้ตัวโพลไม่ได้ชี้นำผู้ร่วมทำโพล

นับถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ก็นับเป็นเวลา 27 วันแล้วที่ตะวัน-ทานตะวันและแบม-อรวรรณ ซึ่งอยู่ในความควบคุมของราชทัณฑ์ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม- 6 กุมภาพันธ์ 2566 ประกาศอดอาหารและน้ำจนกว่าข้อเรียกร้องสามข้อได้แก่ การปล่อยตัวผู้ที่ถูกคุมขังจากการแสดงออกทางการเมือง การปฏิรูประบบยุติธรรม และการยกเลิกประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 กับ 116 จะได้รับการตอบรับ ตะวันและแบมยื่นคำร้องขอยกเลิกสัญญาประกันของตัวเองซึ่งส่งผลให้ทั้งสองต้องเข้าเรือนจำเพื่อคัดค้านการคุมขังนักกิจกรรมทางการเมืองหลายๆคน เช่น ใบปอ-ณัฐนิชและเก็ท-โสภณที่กำลังทำกิจกรรมอดนอนอยู่ในเวลานี้ รวมถึงนักกิจกรรมทะลุแก๊ซที่ทยอยได้รับการประกันตัว
รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์
อ่าน

รวมปรากฏการณ์ “ชุมนุม-คุกคาม-ตอบโต้” การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์

นับตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นมา มีการชุมนุมหรือจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ อย่างน้อย 4 ครั้ง แต่ทั้งก่อนและหลังการจัดกิจกรรมดังกล่าว จะมีเจ้าหน้าที่รัฐเข้าไปคุกคามบรรดาประชาชนและนักกิจกรรม ซึ่งมีไม่น้อยกว่า 14 ครั้ง อาทิ เจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าไป “ติดตามตัว” บรรดานักกิจกรรมบริเวณเคหสถานหรือที่พัก ซึ่งปฏิบัติการดังกล่าวเป็นกระบวนการที่ไม่มีอำนาจตามกฎหมายรองรับที่ชัดเจน รวมถึงมีการสอบถามข้อมูลส่วนตัวและมีการข่มขู่เพื่อไม่ให้ทำกิจกรรมทางการเมือง นอกจากนี้ กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ก็ค่อยๆ ขยับ เพื่
เก็บตก ‘ขบวนเสด็จ’ กับคณะราษฎรตลอดปี 2563 จากข้อหาหนักสู่การแบ่งครึ่งถนน
อ่าน

เก็บตก ‘ขบวนเสด็จ’ กับคณะราษฎรตลอดปี 2563 จากข้อหาหนักสู่การแบ่งครึ่งถนน

ขบวนเสด็จ เป็นประเด็นที่ถูกตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2562 แล้ว โดยครั้งนั้นการตั้งคำถามเป็นเรื่องความไม่สะดวกในชีวิตประจำวันของประชาชนและอยู่บนพื้นที่ออนไลน์อย่างทวิตเตอร์เป็นหลัก
ต้นทาง “การมีส่วนร่วม”: ประสบการณ์จากห้องประชุมร่างพ.ร.บ.การเข้าชื่อฯ
อ่าน

ต้นทาง “การมีส่วนร่วม”: ประสบการณ์จากห้องประชุมร่างพ.ร.บ.การเข้าชื่อฯ

คุยกับดร.ภูมิ มูลศิลป์ ถึงการเดินทางในชั้นรัฐสภาของร่างพ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมาย เมื่อถูกกระบวนการต่างๆ คอยลิดรอนหลักการที่ประชาชนเสนอ บทเรียนการต่อสู้ในห้องประชุมกรรมาธิการ ทำอย่างไรจะคงข้อเสนอไว้ได้