เลือกตั้ง 66: กฎหมายพรรคการเมืองคลุมเครือ “คนนอกครอบงำ” เสี่ยงพรรคถูกยุบ
อ่าน

เลือกตั้ง 66: กฎหมายพรรคการเมืองคลุมเครือ “คนนอกครอบงำ” เสี่ยงพรรคถูกยุบ

“คนนอกครอบงำพรรค” เป็นอีกหนึ่งข้อหาที่หลายพรรคการเมืองต้องเฝ้าระวังเป็นอย่างยิ่ง และมักถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นข้อโจมตีทางการเมืองที่ปรากฎตามสื่ออยู่บ่อยครั้ง เพราะประเด็นนี้ยังคงมีช่องโหว่ในการตีความอยู่มาก แต่มีโทษหนักถึงขั้นยุบพรรค
จับตา! กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส.-พรรคการเมือง หลังรัฐสภาเคาะสูตรหาร 500
อ่าน

จับตา! กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส.-พรรคการเมือง หลังรัฐสภาเคาะสูตรหาร 500

26-27 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) มีนัดพิจารณาร่างกฎหมายสำคัญหลายฉบับ อาทิ ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง รวมถึงร่างกฎหมายใหม่ที่เป็นกฎหมายปฏิรูปประเทศ ได้แก่ ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการปรับเป็นพินัย ร่างพ.ร.บ.การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่างพ.ร.บ.กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม
รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองจากครม.-พรรคร่วมรัฐบาล คว่ำร่างพรรคฝ่ายค้านเรียบทุกฉบับ
อ่าน

รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองจากครม.-พรรคร่วมรัฐบาล คว่ำร่างพรรคฝ่ายค้านเรียบทุกฉบับ

25 ก.พ. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีมติ “รับหลักการ” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองเพียงสามฉบับ คือร่างที่เสนอโดยครม. และร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคพลังประชารัฐสองฉบับ ขณะที่ร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคฝ่ายค้านสามฉบับ รัฐสภามีมติ “ไม่รับหลักการ” ทั้งหมด 
เลือกตั้ง 62: 81 พรรคการเมืองในสนามเลือกตั้ง เกินครึ่งเป็นพรรคตั้งใหม่
อ่าน

เลือกตั้ง 62: 81 พรรคการเมืองในสนามเลือกตั้ง เกินครึ่งเป็นพรรคตั้งใหม่

ต้นปี 2562 มีพรรคการเมืองทั้งหมดจำนวน 106 พรรค พรรคที่ลงสู่สนามเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562 มีจำนวน 81 พรรค เกินครึ่งเป็นพรรคการเมืองตั้งใหม่ ซึ่งเป็นจำนวน 44 พรรค โดยมีพรรคตั้งใหม่เพียง 2 พรรคเท่านั้นที่ไม่ได้ลงสนามเลือกตั้ง ขณะที่มีพรรคการเมืองเดิมถึง 23 พรรคที่ไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงสนามเลือกตั้งครั้งนี้สักคนเดียว  
เลือกตั้ง 62: สมัคร ส.ส. ยุคนี้แสนลำบาก หาเสียงยากข้อจำกัดมากมาย
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สมัคร ส.ส. ยุคนี้แสนลำบาก หาเสียงยากข้อจำกัดมากมาย

ผู้สมัคร ส.ส. ลงสนามเลือกตั้งในปี 2562 ต่างต้องเจอกับข้อจำกัดมากมายตามกฎหมายที่ คสช. เขียนขึ้น ทั้งการจัดตั้งพรรค การหาสมาชิกพรรคก่อนลงสนาม ระหว่างช่วงหาเสียงเลือกตั้งก็มีข้อห้ามใหม่ๆ ออกมาอีกมาก รวมทั้งแม้ชนะเลือกตั้งเข้าสู่สภาแล้ว ก็ไม่อาจทำงานได้ง่ายดายนัก
เลือกตั้ง 62: หลักเกณฑ์ 21 ข้อ ที่อาจใช้สั่งยุบพรรคการเมือง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: หลักเกณฑ์ 21 ข้อ ที่อาจใช้สั่งยุบพรรคการเมือง

การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม 2562 เป็นไปตามกฎกติกาที่ คสช. วางไว้ หลักเกณฑ์อย่างหนึ่งที่พรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามกับ คสช. ล้วนหวาดกลัว คือ การ "ยุบพรรคการเมือง" ซึ่งมีกฎหมายหลายฉบับที่เขียนหลักเกณฑ์ไว้รวม 21 ข้อ รอให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้ตัดสิน                  
เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญปี 2560 กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเกิดขึ้นในปี 2562 และเพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปตามที่คสช. มุ่งหวังไว้ คสช. จึงขอเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ปี 2557 ไปแก้กติกาเพื่อช่วยพรรคการเมืองบางพรรคหรือสร้างเงื่อนไขให้บางพรรค และล่าสุดคือ แก้การแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ตามความเห็น คสช. และรัฐบาล
นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.
อ่าน

นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.

เครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และมีผลในทางปฏิบัติ (Free, Fair & Fruitful Election) หรือ FFFE จัดเวทีเสวนา เรียกร้องให้ กกต. เป็นกลาง สนับสนุนพรรคการเมือง ไม่อยู่ใต้อาณัติคสช. ชี้ กติกาการเลือกตั้งยังสุ่มเสี่ยงทำการเลือกตั้งไม่เสรีและเป็นธรรม ประกอบกับบทบาทของ คสช. ยังมีส่งผลต่อการเลือกตั้งและพรรคการเมือง
คสช. ใช้มาตรา 44 ห้ามหาเสียงออนไลน์-ยกเลิกไพรมารี่โหวต
อ่าน

คสช. ใช้มาตรา 44 ห้ามหาเสียงออนไลน์-ยกเลิกไพรมารี่โหวต

คสช ใช้มาตรา 44 คลายล็อกพรรคการเมือง ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 13/2561 สาระสำคัญคือขยายกรอบเวลาให้พรรคการเมืองดำเนินงานธุรการของพรรค ยกเลิกระบบไพรมารีโหวตโดยให้คณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นคนมีอำนาจในการสรรหาแทน และห้ามไม่ให้มีการหาเสียงออนไลน์
อ่าน

ข้อดี – ข้อเสีย ไพรมารี่โหวต ของ คสช.

ระบบไพรมารี่โหวต ถูกกำหนดให้พรรคการเมืองทุกพรรคต้องดำเนินการก่อนจะส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นว่าที่ ส.ส. พรรคการเมืองหลายพรรคทั้งเก่าและใหม่ต่างเห็นว่าระบบไพรมารี่โหวตจะเป็นอุปสรรคในการเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นข้างหน้า ซึ่งข้อดีและข้อเสียของระบบไพรมารี่โหวตแบบไทยๆ มีดังนี้