20 ปี สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ความฝันที่ยังไม่สลายของการมีส่วนร่วมทางตรง
อ่าน

20 ปี สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ความฝันที่ยังไม่สลายของการมีส่วนร่วมทางตรง

ถอดบทเรียนระยะเวลากว่า 20 ปี ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ทีประชาชนสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ร่างพ.ร.บ.กว่า 50 ฉบับถูกเสนอมาแล้ว  ถึงผลสุดท้ายจะสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง แต่ก็มีพัฒนาการมาเรื่อยๆ เพื่อให้การใช้สิทธิง่ายขึ้น เป็นไปได้มากขึ้น   
Q&A ตอบทุกคำถาม เข้าชื่อ #ปลดอาวุธคสช. ทำอย่างไร? ทำแล้วยังไง?
อ่าน

Q&A ตอบทุกคำถาม เข้าชื่อ #ปลดอาวุธคสช. ทำอย่างไร? ทำแล้วยังไง?

ระหว่างทางการเข้าชื่อเสนอให้ยกเลิก ประกาศ/คำสั่งของ คสช. รวม 35 ฉบับ มีคำถามเข้ามามากมาย หลายคนสงสัยหลายประเด็นก่อนตัดสินใจว่าจะเข้าร่วมดีหรือไม่ เราจึงรวบรวมคำถามหลักๆ ที่พบบ่อยๆ มาลองอธิบายแบบสั้นๆ ไว้ที่นี่ที่เดียว หวังว่าจะตอบทุกข้อสงสัยได้
ช่วยกันคนละชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศ คำสั่ง คสช.
อ่าน

ช่วยกันคนละชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศ คำสั่ง คสช.

ร่วมกันคนละชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศคำสั่ง คสช. จำนวน 35 ฉบับ ในประเด็น เสรีภาพการแสดงออกของประชาชน เสรีภาพสื่อ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิชุมชน เพื่อทวงคืนสถานการณ์ปกติ และปลดอาวุธ คสช.
ขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายประชาชน
อ่าน

ขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายประชาชน

เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ เท่ากับเป็นการเริ่มต้นอีกครั้งของ “สิทธิการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย” โดยประชาชน หลังจากสิทธินี้ถูกระงับไปกว่าสามปีที่ คสช. เข้ามาบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญกำหนดรายละเอียดให้เปลี่ยนไปเล็กน้อย ส่วนสาระสำคัญยังเหมือนเดิม
รายงานหนึ่งปี สนช. 1/3 : การพิจารณากฎหมายในสภา
อ่าน

รายงานหนึ่งปี สนช. 1/3 : การพิจารณากฎหมายในสภา

หนึ่งปีที่ผ่านมา สนช.ทำหน้าที่หลักในการพิจารณากฎหมายโดยมีกฎหมายที่เข้าสู่การพิจารณาถึง 130 ฉบับ ประกาศใช้แล้ว 108 ฉบับ เป็นกฎหมายที่ประชาชนเคยเสนอ 4 ฉบับ และยังมีกฎหมายที่สังคมถกเถียงมากกว่า 10 ฉบับ เช่น พ.ร.บ.ภาษีการรับมรดก, พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ, พ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เรื่องการอุทธรณ์ฎีกา, กฎหมายอุ้มบุญ ฯลฯ
การเสนอกฎหมายโดยประชาชน ตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558
อ่าน

การเสนอกฎหมายโดยประชาชน ตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558

ดูประเด็นการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนในร่างรัฐธรรมนูญ 2558 สิ่งที่เหมือนเดิมคือประชาชน 10,000 คนเสนอกฎหมายได้ สิ่งที่เปลี่ยนไป คือ บังคับรัฐสภาต้องพิจารณาใน 180 วัน และหากไม่ผ่านก็อาจเอากฎหมายไปลงประชามติ กับปัญหาต่างๆ ที่ยังไม่ได้แก้ไข
ร่าง พ.ร.บ.สลากฯเพื่อสังคม เพื่อความโปร่งใส หยุดขายเกินราคา นำเงินมาพัฒนาสังคม
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.สลากฯเพื่อสังคม เพื่อความโปร่งใส หยุดขายเกินราคา นำเงินมาพัฒนาสังคม

กลุ่มเครือข่ายประชาชนปฏิรูปสลาก เคลื่อนไหวผลักดัน ร่าง พ.ร.บ.กิจการสลากเพื่อสังคม พ.ศ. … เปิดรับการลงรายชื่อบุคคลทั่วไป เพื่อแสดงให้เห็นพลังที่ต้องการให้เกิดกองทุนเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ร่างพ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ฉบับประชาชน: เพิ่มเอกภาพให้ภาครัฐ เพิ่มพื้นที่ให้ภาคประชาชน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ฉบับประชาชน: เพิ่มเอกภาพให้ภาครัฐ เพิ่มพื้นที่ให้ภาคประชาชน

ปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหามากมายในด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ ทั้งน้ำท่วมอุทกภัย น้ำแล้ง มลพิษปนเปื้อน ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ ความขัดแย้งจากการแย่งชิงน้ำและการระบายน้ำ รวมทั้งการสูญเสียความสมดุลของน้ำในระบบนิเวศ ขณะเดียวกัน การจัดการปัญหาของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องกว่า 30 หน่วยงาน เช่น กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมเจ้าท่า กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ ฯลฯ 
16 ปี การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ประชาธิปไตยทางตรงที่ไม่ได้ผล?
อ่าน

16 ปี การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ประชาธิปไตยทางตรงที่ไม่ได้ผล?

เวทีคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย เครือข่ายแรงงาน สิทธิชุมชน ผู้บริโภค เกษตรกร ฯลฯ ร่วมแชร์ประสบการณ์ 16 ปีสิทธิการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไม่ไปถึงไหน ปัญหาอยู่ที่ยื่นเข้าสภาไปแล้วส.ส.ไม่เห็นหัว ปลุกอนาคตอาจต้องใช้ 1,000,000 ชื่อ